Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างและบทบาทของสถานบริการสุขภาพในไทย, ความหมาย - Coggle Diagram
โครงสร้างและบทบาทของสถานบริการสุขภาพในไทย
การจัดบริการสุขภาพในส่วนกลาง
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
โรงพยาบาลศิริราช
โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
โรงพยาบาลรามาธิบดี
กรุงเทพมหานครฯ
โรงพยาบาลสิรินธร
โรงพยาบาลกลาง
โรงพยาบาลวชิรพยาบาล
กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา :
โรงพยาบาลนพรัตนราชธาณี
โรงพยาบาลราชวิถี
สถาบันธัญญารักษ์
กระทรวงกลาโหม
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
สภากาชาดไทย
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โรงพยาบาลตำรวจ
การจัดบริการสุขภาพส่วนภูมิภาค
การจัดบริการสุขภาพในส่วนภูมิภาคนั้นมุ่งเน้นการจัดบริการให้ครอบคลุมและทั่วถึงประชาชนทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท ซึ่งมีการสุขภาพแบ่งเป็นระดับย่อยๆ ตามการบริหารงาน
ระดับอำเภอ
โรงพยาบาลชุมชน
ให้บริการสุขภาพแบบผสมผสาน โดยมีหารให้บริการด้านส่งเสริมสุขภาพ การตรวจวินิจฉัย การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ให้บริการสุขภาพในระดับ 2
เตียงผู้ป่วยมากกว่า 10-120 เตียง (ไม่เกิน 150 เตียง)
ระดับหมู่บ้าน
สถานบริการสาธารณสุขชุมชน (สสช.)
เน้นการบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.)
เน้นการตรวจคัดกรองและการใช้บริการส่งเสริมสุขภาพขั้นพื้นฐานตามขีดความสามารถของอาสาสมัคร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต)
เน้นบริการสุขภาพแบบผสมผสาน โดยมีการให้บริการด้านส่งเสริมสุขภาพการควบคุมและป้องกันโรคการรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ให้บริการสุขภาพในระดับ 1-2
ระดับจังหวัด
โรงพยาบาลศูนย์
ตรวจรักษาโรคทั่วไปและโรคเฉพาะทาง
ให้บริการสุขภาพในระดับ 3
เตียงผู้ป่วย 500-1000 เตียง
โรงพยาบาลทั่วไป
เตียงผู้ป่วย 140-400 เตียง (ไม่เกิน 500 เตียง)
ตรวจรักษาโรททั่วไป และ โรคเฉพาะทาง (ด้อยกว่าโรงพยาบาลศูนย์เล็กน้อย)
ให้บริการสุขภาพในระดับ 2-3 แล้วแต่กรณี
โรงพยาบาลมหาราช
ตรวจรักษาโรททั่วไปและโรคเฉพาะทาง
ให้บริการสุขภาพในระดับ 3
เตียงผู้ป่วยมากกว่า 1000 เตียง
การจัดบริการสุขภาพเอกชน
ร้านขายยา
สมาคมต่างๆ
บริการอื่นๆ
คลีนิก
โรงพยาบาลเอกชน
ความหมาย