Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความมุ่งหมาย และมูลเหตุแห่งการเล่าชาดก, ๓ องค์ประกอบของชาดก,…
ความมุ่งหมาย และมูลเหตุแห่งการเล่าชาดก
ความมุ่งหมายของชาดก
๑ เพื่อใช้สอนธรรมะ
๑) กฬายมุฏฐิชาดก
๒) ธัมมัทธชชาดก
๓) สังกิจจชาดก
๒ เพื่อศึกษาธรรมะด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน
แต่งให่เกิดความเพลิดเพลินไม่เบื่อหน่ายกับธรรมมะมากเกินเน้นแต่งเรื่องเกี่ยวกับสัตว์
เช่น
๑) สุวัณณหังสชาดก
๒) ติตติรชาดก
๓) นามสิทธิชาดก
๔) กาญจนักขันธชาดก
๓ เพื่อแก้ความสงสัยของพระพุทธสาวก
นิทานชาดกส่วนใหญ่เริ่มต้นด้วย พระพุทธสาวกมีความสงสัยหรือ มีคำถาม ได้กราบทูลถามขึ้นมาในธรรมสภา
๑) มกสชาดก ว่าด้วยลูกชายโง่ฆ่ายุง
๒) สมุททวาณิชชาดก ว่าด้วยพ่อค้าทางเรือเดินทะเล
๓) ตุณฑิลชาดก ว่าด้วยตุณฑิลสุกรโพธิสัตว์
๔) อารามทูสกชาดก ว่าด้วยลิงทำลายสวน
มูลเหตุการณ์เล่าชาดก
๑ เหตุเกิดการเล่านิทานชาดก ๔ ลักษณะ
๑) อัตตัชฌาสยะ
เกิดขึ้นแต่พระอัธยาศัยแห่งพระพุทธเจ้าเอง
๒) ปรัชญาสยะ
ทรงแสดงธรรมเพราะอัธยาศัยของผู้ฟัง
๓) อัตถุปัตติกะ
ทรงถือเอาประโยชน์ที่เกิดขึ้นเป็นเหตุ หรือมีเรื่องใดเรื่องหนึ่งเกิดขึ้น
๔) ปุจฉาวสิกา
เกิดจากคำถาม
๒ เหตุเกิดนิทานชาดก มาจาก ๔ ทาง
๒) พระพุทธเจ้าทรงนำนิทานเก่ามาดัดแปลง
สั่งสอนพุทธศาสนิกชน
๓) ผู้รู้ทางพระพุทธศาสนานำเข้าเรื่องเดิม
จากแหล่งต่าง ๆ มาแต่งใหม่
๑) พระพุทธเจ้าทรงระลึกชาติได้
๔) ผู้รู้ทางพระพุทธศาสนาผูกเรื่องแต่งชาดกขึ้น
มาเองโดยไม่อาศัยเค้าโครง
๓ บ่อเกิดของนิทานชาดก
๑)นิทานชาดกมาจากคัมภีร์ที่เก่าแก่กว่าคัมภีร์ชาดก
๒) นิทานชาดกมาจากนิทานชาวบ้านพระอรรถกถาจารย์
ยกมาเป็นตัวอย่างในการเทศนาสั่งสอนประชาชน
๓) นิทานชาดกมาจากเรื่องราวยุคโบราณในประวัติศาสตร์หรือพงศาวดารของบ้านเมืองยุคโบราณก่อนพุทธกาล
๓ องค์ประกอบของชาดก
๒ โครงสร้างอรรถกถาชาดก ๕ ส่วน
๑) ปัจจุบันวัตถุ
กล่าวถึงเรื่องปัจจุบัน สมัย พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่
๒) อดีตนิทาน
เป็นเรื่องชาดกในอดีตที่เคยมีมา
๓) คาถา
เป็นพุทธพจน์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก
๔) เวยยากรณะ
เป็นการอธิบายคาถาที่ปรากฏในนิบาต ชาดกนั้น ๆ
๕) สโมธาน
เป็นการสรุปเรื่องราวสำคัญ ในเรื่องได้กลับชาติมาเกิดอีก
๑ องค์ประกอบชาดก ๓ ประการ
๑) ปรารภเรื่อง
บทนำจะกล่าวถึงมูลเหตุหรือที่มาของชาดก
๒) อดีตนิทาน หรือชาดก
เรื่องที่พระพุทธเจ้าตรัสเล่า เมื่อพระสาวกทูลถามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าสมัยก่อนพุทธกาลเคยมีฝนโบกขรพรรษตกหรือไม่
๓) ประชุมชาดก
ประมวลชาดกเป็นเนื้อความตอนสุดท้ายของชาดก