Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star: ละครที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ให้ทันสมัยมากขึ้นและเข้ากับยุคสมัยใหม่ :star:…
:star: ละครที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ให้ทันสมัยมากขึ้นและเข้ากับยุคสมัยใหม่ :star:
ละครอิงประวัติศาสตร์
ลักษณะของละคร
แม้ว่าละครอิงประวัติศาสตร์จะเป็นเรื่องแต่งแต่ผลงานอาจมีการอ้างอิงถึงบุคคลในชีวิตจริงหรือเหตุการณ์ต่างๆจากช่วงเวลาที่เกี่ยวข้องหรือมีการนำเสนอช่วงเวลาที่ถูกต้องตามความเป็นจริง ผลงานอาจจะมีเรื่องเล่าส่วนใหญ่สมมติขึ้นอยู่กับคนที่เกิดขึ้นจริงหรือเหตุการณ์เช่นBraveheart , Les Misérablesและไททานิค
งานที่เน้นการถ่ายทอดเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์หรือบุคคลที่เฉพาะเจาะจงอย่างถูกต้องจะเรียกว่าdocudrama (เช่นThe Report ) ที่ชีวิตของคนเป็นศูนย์กลางในเรื่องการทำงานดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันเป็นละครชีวประวัติ (ตัวอย่างเป็นFrida , Cinderella Manและลิงคอล์น )
แหล่งอ้างอิง
ละครอิงประวัติศาสตร์.//(2562).//ลักษณะของละครอิงประวัติศาสตร์.//สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2564,/จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
https://hmong.in.th/wiki/Historical_drama
.//(ออนไลน์)
:checkered_flag: ผู้จัดทำ นาย ลิเหว่ย เเต้ เลขที่ 2
ประวัติ
ละครโทรทัศน์
ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน
นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้วย
หลังจากที่ประเทศไทยเปิดสถานีช่อง 4 บางขุนพรหม ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรก ต่อมาอีก 2 เดือน จึงเริ่มมีละครโทรทัศน์เรื่องแรก คือเรื่อง สุริยานีไม่ยอมแต่งงาน ของนายรำคาญ (ประหยัด ศ. นาคะนาท) นำแสดงโดย หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ โชติ สโมสร และ นวลละออ ทองเนื้อดี ออกอากาศเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2499
ลักษณะของละครไทย
ในอดีตละครโทรทัศน์ไทย มีเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นเรื่องชนชั้นสูง ตัวละครมุ่งเน้นไปที่ฝ่ายดี ฝ่ายเลว สามารถเดาตอนจบของเรื่องได้ง่าย มักจะจบลงแบบสุขนาฏกรรม (happy ending) มีการนำมาทำซ้ำกันบ่อยครั้ง มีขนบการเล่าเรื่อง ตัวละคร และสูตรที่ค่อนข้างตายตัว ละครส่วนใหญ่เป็นไปตามลักษณะดังนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องที่ได้รับความนิยมมาก
รู้จัก ประเภทของละครไทย
ละครสั้น (TV series)
ละครเรื่องยาว (TV. serials)
ละครประเภทพิเศษ (Drama special)
ละครสั้น (Mini series)
ละครจบในตอน (Anthology series/anthology drama)
ซิตคอม (sit-com)
แหล่งอ้างอิง
ละครโทรทัศน์.//(2562).//ประวัติละครโทรทัศน์.//สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2564,/จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C
https://mthai.com/entertainment/113078.html
.//(ออนไลน์)
:checkered_flag: ผู้จัดทำ นาย รณกฤต ดาวเรือง เลขที่ 6
ละครสังคีต
:confetti_ball: เรื่องที่แสดง เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แก่ หนามยอกเอาหนามบ่ง วิวาหพระสมุทร มิกาโด และวั่งตี่ เป็นต้น
:red_flag: บุคคลสำคัญ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชการที่6)
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเป็นพระองค์ที่ 2 ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ประสูติ ณ วันเสาร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ตรงกับวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง โทศก จุลศักราช 1242 (ร.ศ. 99) ทรงพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ มุสิกนาม ทรงมีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนนี 7 พระองค์
แหล่งอ้างอิง
นาฏศิลป์ไทย.//(2562).//ประเภทของละครไทย ละครที่ไม่ใช่ละครรำ.//สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2564,/จาก
http://tecs4.com/intranet/course/detail-user.php?id=66
.//(ออนไลน์)
:star: เป็นละครที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงริเริ่มขึ้น มีลักษณะคล้ายกับละครร้อง แต่จะมีบทร้องและบทเจรจาเท่ากัน จะตัดสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกไม่ได้
:silhouettes: วิธีการแสดง ใช้ผู้แสดงชายและผู้และหญิงแสดงจริง ผู้แสดงจะต้องร้องเอง มุ่งความไพเราะของบทเพลง มีเครื่องแต่งกาย และฉากงดงาม
:fire: การแต่งกาย แต่งตามท้องเรื่อง คำนึงถึงฐานะของตัวละคร
:<3: ดนตรีและเพลงร้องใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม ผู้แสดงต้องร้องและเจรจาเอง
:checkered_flag: ผู้จัดทำ นาย กิตติกานต์ กาญจนพร เลขที่ 10
ละครวิทยุ
บุคคลสำคัญ
นักเขียนบทละครชาวโรมัน " เซเนกาถูกอ้างว่าเป็นผู้บุกเบิกละครวิทยุเพราะบทละครของเขาแสดงโดยผู้อ่านเป็นบทละครไม่ใช่นักแสดงเป็นละครเวที แต่ในแง่นี้เซเนกาไม่มีผู้สืบทอดที่สำคัญจนกระทั่งเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 20 ทำให้แพร่หลาย การเผยแพร่ละครเสียง”
แหล่งอ้างอิง
ละครวิทยุ.//(2562).//ประวัติละครวิทยุในเเต่ละสมัย.//สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2564,/จาก
https://hmong.in.th/wiki/Radio_drama.//(ออนไลน์
)
ละครวิทยุ เป็นการแสดงละครโดยใช้เสียงอย่างเดียว เมื่อไม่มีภาพ จึงต้องขึ้นอยู่กับบทสนทนาโต้ตอบ ดนตรีและเอฟเฟ็กซ์เสียงเพื่อช่วยให้ผู้ฟังจินตนาการถึงตัวละครและนิยายออก ละครวิทยุอาจเป็นละครที่เขียนขึ้นเพื่อออกอากาศทางวิทยุโดยเฉพาะ ละครสารคดี งานบันเทิงคดีที่สร้างเป็นละคร หรือละครที่เดิมเขียนขึ้นเป็นละครเวที
ละครวิทยุได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางภายในหนึ่งทศวรรษของการพัฒนาครั้งแรกในปี ค.ศ. 1920 ในช่วงทศวรรษที่ 1940 เป็นความบันเทิงชั้นนำระดับนานาชาติ ด้วยการถือกำเนิดของโทรทัศน์ในละครวิทยุในปี 1950 เริ่มสูญเสียผู้ชม อย่างไรก็ตามมันยังคงได้รับความนิยมในหลาย ๆ มุมโลก
เมื่อถึงศตวรรษที่ 21 ละครวิทยุมีการแสดงบนวิทยุภาคพื้นดินในสหรัฐอเมริกาน้อยที่สุดโดยละครวิทยุอเมริกันจำนวนมากถูก จำกัด การออกอากาศซ้ำของรายการจากทศวรรษก่อน ๆ อย่างไรก็ตามประเทศอื่น ๆ ยังคงมีประเพณีการแสดงละครวิทยุที่เฟื่องฟู ในสหราชอาณาจักรเช่นบีบีซีผลิตและออกอากาศหลายร้อยวิทยุใหม่เล่นในแต่ละปีวิทยุ 3 , 4 วิทยุและวิทยุ 4 เสริม เช่นเดียวกับสหรัฐอเมริกาออสเตรเลีย ABC ได้ละทิ้งการออกอากาศละคร แต่ในนิวซีแลนด์RNZยังคงโปรโมตและออกอากาศละครหลายเรื่องผ่านคลื่นออกอากาศ
:checkered_flag: ผู้จัดทำ นาย สรวิศ ด่านตระกูล เลขที่ 8
ละครเพลงหรือละครเวที
:red_flag: บุคคลสำคัญ
แอนดรู ลอยด์ เว๊บเบอร์
ประวัติ
แอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ เกิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1948 เป็นนักประพันธ์เพลงละครเพลงชาวอังกฤษ เป็นบุตรชายคนโตของนักออร์แกน วิลเลียม ลอยด์ เวบเบอร์ และเป็นพี่ชายของนักเล่นเชลโล่ จูเลียน ลอยด์ เวบเบอร์ โดยลอยด์ เวบเบอร์เริ่มประพันธ์เพลงตั้งแต่อายุ 6 ปี และเผยแพร่งานครั้งแรกเมื่อเขาอายุได้ 9 ปี
แหล่งอ้างอิง
ละครเพลง.//(2562).//ความหมายของละครเพลง.//สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2564,/จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87.//(ออนไลน์
)
:checkered_flag: ผู้จัดทำ นาย สัณหณัฐ กาญจนเพ็ญ เลขที่ 7
ประวัติละครเพลง
สถานที่แสดง
ละครเพลงที่มีชื่อเสียง
ละครพูด
เป็นละครที่ใช้การพูดดำเนินเรื่อง ผู้ที่ริเริ่มละครพูดคือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยังทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ละครนี้เป็นที่นิยมมาก
ในสมัยรัชกาลที่ ๖ แบ่งเป็น ๓ ประเภทใหญ่ๆ คือ ละครพูดล้วนๆ ละครพูดสลับลำ ละครพูดแบบร้อยกรอง
วิธีการแสดง
ละครพูดสลับลำ เป็นละครที่มีเพลงเข้ามาแทรกการดำเนินเรื่องอยู่ที่การพูด บทร้อง
เป็นเพียงส่วนเสริมความ ยํ้าความ ประกอบเรื่อง ถ้าตัดบทร้องออกก็ไม่ทำให้เนื้อเรื่องเสีย
ละครพูดล้วนๆ ดำเนินเรื่องด้วยวิธีการพูด ถ้าเป็นบทที่คิดอะไรอยู่ในใจก็ใช้วิธีป้องปากพูดกับผู้ดูแล้วสมมุติว่าตัวแสดงอื่นๆ ไม่ได้ยิน ใช้ท่าทางประกอบตามธรรมชาติ
ละครพูดแบบร้อยกรอง ดำเนินเรื่องด้วยการพูดแต่เป็นการพูดเป็นคำกลอน การออกเสียง
เหมือนพูดร้อยแก้ว แต่มีจังหวะ วรรคตอน
การแต่งกาย แต่งตามเนื้อเรื่อง เหมาะสมตามสภาพจริงและบุคลิกของตัวละคร
เรื่องที่แสดง
ละครพูดล้วนๆ เรื่องที่แสดงเรื่องแรก คือ โพงพาง
ละครพูดสลับลำ เรื่องที่แสดง ได้แก่ ชิงนางและปล่อยแก่ของนายบัวทองอิน
ละครพูดแบบร้อยกรอง เรื่องที่แสดง ได้แก่ เวนิสวานิช เป็นละครพูดแบบคำกลอน
เรื่องมัทนะพาธา เป็นละครพูดแบบคำฉันท์
:red_flag: บุคคลสำคัญ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชการที่6)
แหล่งอ้างอิง
นาฏศิลป์ไทย.//(2562).//ประเภทของละครไทย ละครที่ไม่ใช่ละครรำ.//สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2564,/จาก
http://tecs4.com/intranet/course/detail-user.php?id=66
.//(ออนไลน์)
:checkered_flag: ผู้จัดทำ นาย ทักษิณ สันหนู เลขที่ 12
ละครร้อง
หมายถึง ละครแบบหนึ่ง ได้รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องเพลงเองในการดำเนินเรื่องตลอดทั้งเรื่อง มีบทเจรจาตามเนื้อเพลงที่ตัวละครร้องจบไป มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น ละครร้องเรื่องพระร่วง เรื่องสาวเครือฟ้า.
ละครร้องสลับพูด หรือละครร้องแบบกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
:star: พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิประพันธ์พงศ์ทรงดัดแปลงนำเค้ามาจากการแสดงของชาวมลายูที่เรียกว่า“บังสาวัน”หรือ“มาเลย์โอเปร่า”ละครร้องสลับพูดนี้เกิดขึ้นพร้อมกับละครร้องล้วนๆ แต่ได้รับความนิยมมากกว่า
:silhouettes: วิธีการแสดง ใช้การขับร้องดำเนินเรื่อง มีพูดสลับเจรจาสอดแทรกเพื่อทบทวนบทที่ผู้แสดงร้องมาแล้ว ถ้าตัดบทพูดออกก็ไม่เสียความใดๆ ใช้กิริยาท่าทางอย่างสามัญชนตามธรรมชาติ ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงเรียกว่า “ละครกำแบ”
:fire: การแต่งกาย แต่งตามท้องเรื่อง คำนึงถึงฐานะของตัวละคร
:<3: ดนตรีและเพลงร้อง ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องเกริ่นเรื่องและดำเนินเรื่อง ถ้าบทนั้นเป็นคำพูดของตัวละคร ผู้แสดงตัวนั้นจะต้องร้องเอง แต่ร้องเฉพาะที่เป็นถ้อยคำเท่านั้น ส่วนการเอื้อนลูกคู่จะเป็นผู้ร้องแทรกให้
:confetti_ball: เรื่องที่แสดง เป็นเรื่องของสามัญชน เช่น ตุ๊กตายอดรัก ขวดแก้วเจียระไน สาวเครือฟ้า กากี
:red_flag: บุคคลสำคัญ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิประพันธ์พงศ์
พระราชประวัติ
มหาเสวกโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2474) มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาเขียน เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้นราชสกุลวรวรรณ
ละครร้องล้วนๆ หรือละครร้องแบบรัชกาลที่ ๖
:star: ผู้ให้กำเนิดละครประเภทนี้คือพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเลียนแบบจากละครอุปรากรที่เรียกว่า โอเปอเรติก ลิเบรตโต :
:silhouettes: วิธีการแสดง เป็นละครที่ดำเนินเรื่องด้วยการร้อง ไม่มีคำพูดแทรก เล่าเรื่องเป็นเพลงแทนการเจรจา ใช้ท่าทางแบบสามัญชน อาจมีการรำแทรกบ้าง
:fire: การแต่งกาย แต่งกายตามท้องเรื่อง
:<3: ดนตรีและเพลงร้อง ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม เล่าเรื่องเป็นทำนองแทนการพูด ใช้ลูกคู่ร้องประกอบการแสดง มีการเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่อง
:confetti_ball: เรื่องที่แสดง ได้แก่ สาวิตรี เป็นละครร้องล้วนๆ เรื่องเดียวที่ไม่มีบทพูดเเทรกอยู่เลย
:red_flag: บุคคลสำคัญ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชการที่6)
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเป็นพระองค์ที่ 2 ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ประสูติ ณ วันเสาร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ตรงกับวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง โทศก จุลศักราช 1242 (ร.ศ. 99) ทรงพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ มุสิกนาม ทรงมีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนนี 7 พระองค์
แหล่งอ้างอิง
นาฏศิลป์ไทย.//(2564).//ละคร.//สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2564,/จาก
https://sites.google.com/site/webpraphethkhxngnatsilpthiy/natsilp/lakhr
.//(ออนไลน์)
:checkered_flag: ผู้จัดทำ นาย กิตติกานต์ กาญจนพร เลขที่ 10
ละครอิงประวัติศาสตร์ เป็นละครที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับบุคคลจริงในประวัติศาสตร์ ดำเนินเรื่องในช่วงหนึ่งของประวัติศาสตร์ ให้ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ ละครเรื่อง บุพเพสันนิวาส มีเนื้อหาละครในช่วงยุคสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นละครที่ได้รับความนิยมสูงสุดนับตั้งแตประเทศไทยเข้าสู่ยุคทีวีดิจิตอลเมื่อปี 2558 ละครที่มีเรื่องราวในช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา ช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ได้แก่ละครเรื่อง สายโลหิต และ ฟ้าใหม่ละครเรื่อง รัตนโกสินทร์ ย้อนยุคไปในสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 3 เรื่อง ข้าบดินทร์ มีเนื้อเรื่องเกิดขึ้นสมัยรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ละครที่เล่าเรื่องราวในช่วงรัชกาลที่ 5 ยุคที่ประเทศชาติบ้านเมืองมีการเปลี่ยนแปลง และประวัติศาสตร์ที่น่าจดจำหลายอย่าง เช่น บ่วงบาป, นางทาส, ลูกทาส, สี่แผ่นดิน, ร่มฉัตร และ ทวิภพ
เช่น Show Boat, Oklahoma!, West Side Story, The Fantasticks, Hair, A Chorus Line, Les Misérables, The Phantom of the Opera, Rent และ The Producers
ประหยัด ศ. นาคะนาท
บุคคลสำคัญ
โชติ สโมสร
หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์
ละครเพลง เป็นรูปแบบของละครที่นำดนตรี เพลง คำพูด และการเต้นรำ รวมเข้าด้วยกัน การแสดงอารมณ์ ความสงสาร ความรัก ความโกรธ รวมไปถึงเรื่องราวที่บอกเล่าผ่านละคร ผ่านคำพูด ดนตรี การเคลื่อนไหว เทคนิคต่าง ๆ ให้เกิดความบันเทิงโดยรวม ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 การแสดงละครเพลงบนเวทีจะเรียกว่าง่าย ๆ ว่า มิวสิคัล (musicals)
ละครเพลงมีการแสดงทั่วไป ทั่วโลก อาจจะแสดงในงานใหญ่ ๆ ที่มีทุนสร้างสูงอย่าง เวสต์เอนด์ และ ละครบรอดเวย์ ในลอนดอนและนิวยอร์กซิตี หรือโรงละครฟรินจ์ที่เล็กลงมา, ออฟ-บรอดเวย์ หรือ การแสดงท้องถิ่น, ทัวร์ละครเพลง หรือการแสดงสมัครเล่นในโรงเรียน มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ในอังกฤษและอเมริกาเหนือ ละครเพลงมีความโดดเด่นในหลายประเทศในยุโรป ละตินอเมริกา และเอเชีย