Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
การประเมินสภาวะอนามัยชุมชน ( Assessment )
1.1 การรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
1) ข้อมูลประชากรศาสตร์ได้แก่แฟ้มประวัติครอบครัว: บ้านเลขที่ ที่อยู่ รายชื่อคนในทะเบียนบ้าน ความสัมพันธ์วันเดือนปีเกิด เพศ อายุศาสนาสถานภาพสมรส จำนวนประชากร การเจ็บป่วยในรอบปีข้อมูลผู้ย้ายเข้า/ย้ายออก ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม และความเชื่อต่าง ๆ
2) ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม
2.1) อาชีพ รายได้ระดับการศึกษา
2.2) ลักษณะการทำงานและปัจจัยเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในชุมชน
2.3) วิถีชีวิตการดำเนินกิจกรรมของชุมชน
2.4) องค์กรต่าง ๆ ในชุมชน และผู้นำชุมชน
2.5) การคมนาคม
3) ข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพ (Life style)
3.1) อนามัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับสถานบริการสาธารณสุข
3.2) พฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรค
4) ข้อมูลเกี่ยวกับสถิติชีพและอนามัย
4.1) แบบสำรวจข้อมูลชุมชน
4.2) การเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ
4.3) ความผู้พิการหรือทุพพลภาพ
4.4) การคุมกำเนิด ในหญิงวัยเจริญพันธ์ (อายุ15-44 ปี)
4.5) การได้รับภูมิคุ้มกัน สอบถามได้จาก แบบบันทึกสุขภาพเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี(เล่มสีชมพู)
5) หลักประกันทางด้านสุขภาพ
5.1) สิทธิในการรักษาพยาบาลมี3 ระบบ
1) สิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาลของข้าราชการ
2) สิทธิประกันสังคม
3) สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือสิทธิบัตรทอง
5.2) สถานบริการสาธารณสุขทั้งของรัฐ และเอกชนที่มีอยู่ในชุมชน หรือเขตใกล้เคียง
5.3) เจตคติของประชาชนต่อบริการสาธารณสุข
6) ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน
6.1) น้ำที่ใช้อุปโภค เป็นน้ำประเภทใด เช่น น้ำประปา น้ำบาดาล น้ำฝน
6.2) ส้วมใช้ถูกหลักสุขาภิบาลหรือไม
6.3) สัตว์เลี้ยงบริเวณบ้าน และใต้ถุน หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นสัตว์ชนิดใดจำนวน/ตัว ฉีดวัคซีน/ตัว
6.4) ที่รองรับขยะประจำบ้าน วิธีการกำจัดขยะโดยวิธีไหน เผาฝัง ทิ้งถังขยะในชุมชนฯลฯ
6.5) ที่อยู่อาศัยคงทน
6.6) การกำจัดน้ำเสีย
6.7) พาหะนำโรค (หนู, แมลงสาบ, แมลงวัน)
6.8) ภาชนะทุกชนิดที่บรรจุน้ำพบ/ไม่พบ ลูกน้ำ
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพชุมชน
เครื่องมือทางระบาดวิทยา (Epidermiology)
1.1 อัตรา (Rate)
1.2 อัตราส่วน (Ratio)
1.3 สัดส่วน (Proportion)
เครื่องมือประเมินชุมชนโดยใช้ครอบครัวเป็นฐาน
1) แฟ้มสุขภาพครอบครัว (Family folder
2) แบบสํารวจความจําเป&นพื้นฐาน (จปฐ.)
เครื่องมือการวัดพฤติกรรมสุขภาพ (KAP Survey)
แบบสอบถามความรู้ทาง
สุขภาพ แบบสํารวจทางการปฏิบัติแบบสํารวจทัศนคติ
เครื่องมือการสํารวจแบบเร่งด่วน (Rapid Survey
เครื่องมือทางมนุษยวิทยา เครื่องมือ 7 ชิ้นในการเรียนรู้ชุมชน
การทำแผนที่ในงานอนามัยชุมชน
ชนิดของแผนที่
แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic map)
แผนที่ภาพถ่าย (Photo map)
องค์ประกอบภายในขอบระวางแผนที่
2.1สัญลักษณ์ ( Symbol )
การหาระยะทางในการทำแผนที่
ระยะทาง = ความยาวของ 1 ก้าวเฉลี่ย x จำนวนก้าวเฉลี่ย
การอ่านและการใช้แผนที
การวางให้ถูกทิศทาง
สิ่งแรกของการอ่านแผนที่คือ จะต้องวางแผนที่ให้ถูกทิศทางเสียก่อนโดยเมื่อวางแผนที่ลงในแนวราบ ทิศเหนือของแผนที่จะต้องชี้ไปทางทิศเหนือของภูมิประเทศเสมอ และแนวต่างๆในแผนที่ขนานกับแนวจริงของภูมิประเทศ
การกำหนดตำแหน่งที่อยู่ของผู้ใช้ลงในแผนที่
การศึกษาหารายละเอียดของแผนที่
1.2) ผังเครือญาติ(Genogram)
วิธีการทําแผนผังเครือญาติ
รู้จักการใช้สัญญาลักษณ์มาตรฐานการทําผังเครือญาติ
ให้ความสำคัญกับทุกกลุ่มเครือญาติในชุมชน ในการสอบถามข้อมูล
ควรทำความรู้จักกับบุคคลในแผนผังเครือญาติจริง ๆ
การสัมภาษณในการทําผังเครือญาติที่ต้องระวังเป&นพิเศษ คือ เรื่องชู้สาว เมียน้อย หรือเมียเก็บ ลูกติด พี่น้องต่างบิดา-มารดา ความสัมพันธแบบบุตรบุญธรรม หรือการข้ามเพศ
1.5) ปฏิทินชุมชน
ประโยชน์ของปฏิทินชุมชน
เข้าใจแบบแผนกิจกรรม เหตุการณ์ของชุมชนที่เกิดขึ้น และสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม
เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน
สามารถวางแผนการทำงานกับชุมชนได้ดีขึ้น โดยเฉพาะเชิงรุก