Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กหญิงอายุ 7 เดือนน้ำหนัก 8.2 กิโลกรัม ส่วนสูง 65 เซนติเมตร Dx : Wilm’s…
เด็กหญิงอายุ 7 เดือนน้ำหนัก 8.2 กิโลกรัม ส่วนสูง 65 เซนติเมตร
Dx : Wilm’s Tumor
WILMS 'TUMOR
ความหมาย
เป็นภาวะที่เนื้อไตชั้น Parenchyma มีการเจริญผิดปกติ จนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต ส่วนใหญ่จะมีขนาดใหญ่จนคลำได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง พบในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 2 ปี และพบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง พบ 1 ต่อ 10,000 ของเด็กเกิดมีชีวิต เป็นมะเร็งชนิดก้อนที่พบบ่อยในเด็กเล็กเช่นเดียวกับ Neuroblastoma
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนของการเกิดโรคมะเร็ง แต่เชื่อว่าอาจเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมที่ถ่ายทอดได้
การพยาบาล
1.การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
1.1 เนื่องจากมีเวลาน้อยในการเตรียมเด็กและบิดามารดาเพื่อการตรวจวินิจฉัยและทำผ่าตัดพยาบาลจึงต้องอธิบายให้เด็กและบิดามารดาทราบพอสังเขปและง่ายต่อการเข้าใจ
1.2 ห้ามคลำก้อนบริเวณหน้าท้องเด็กโดยไม่จำเป็นเด็ดขาดเพราะจะทำให้เซลล์มะเร็งแพร่กระจายได้อาจใช้ป้ายเขียนติดไว้ซึ่งต้องอธิบายให้บิดามารดาทราบด้วย
1.3 อาบน้ำเช็ดตัวให้เด็กด้วยความระมัดระวังป้องกันบาดเจ็บที่จะเกิดขึ้นบริเวณเนื้องอก
1.4 บอกให้บิดามารดาและเด็กทราบถึงขนาดของแผลผ่าตัดและการทำแผลก่อนการผ่าตัดมิฉะนั้นเด็กอาจรู้สึกเศร้าใจโกรธเมื่อเห็นบริเวณผ่าตัด
1.5 วัดความดันโลหิตอย่างระมัดระวังเพราะอาจเกิดความดันโลหิตสูงได้จากการหลังเรนินมากเกินไป
1.6 เตรียมผ่าตัดเหมือนการผ่าตัดทั่ว ๆ ไป
2.การพยาบาลหลังผ่าตัด
2.1 ระยะพักฟื้นหลังผ่าตัดเร็วมากในเด็กผ่าตัด Milm's Turnor การดูแลเช่นเดียวกับการผ่าตัดหน้าท้องทั่วไป
2.3 หลังผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งออกแล้วความดันโลหิตอาจลดลงได้จึงต้องคอยวัดความดันโลหิตเสมอ
2.4 ประเมินการทำหน้าที่ของไตข้างที่เหลืออยู่โดยบันทึกปริมาณปัสสาวะ
2.5 ขณะให้เคมีบำบัดจะต้องสังเกตอาการของการติดเชื้อเนื่องจากยากไขกระดูก
2.6 ประเมินสภาพการทำงานของปอดหลังผ่าตัดทันทีทันใดเพื่อป้องกันอาการแทรกซ้อนหรือการแพร่กระจายไปยังปอด
2.7 บิดามารดามีความวิตกกังวลสูงช่วงหลังผ่าตัดเนื่องจากได้เห็นแผลสภาพของบุตรทำให้นึกถึงความรุนแรงของโรคพยาบาลจึงต้องให้ความมั่นใจแก่บิดามารดาในการหายกลับสู่สภาพปกติของบุตร
การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย
จุดประสงค์สำคัญในการวางแผนคือ ให้ผู้ป่วยเด็กกลับคืนสู่สภาวะปกติหลังได้รับการรักษาด้วยยาและการผ่าตัดผู้ป่วยและครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเหมาะสมก่อนออกจากโรงพยาบาลและเมื่อได้อนุญาตให้ไปดูแลตนเองต่อที่บ้าน
การรักษา
รังสีรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
อาจทําการผ่าตัดร่วมกับการใช้เคมีบำบัด
อาการ
มีภาวะซีดเล็กน้อย
ปวดท้องสังเกตได้จากเด็กร้องกวนและคลบริเวณช่องท้อง
ความดันโลหิตสูง เนื่องจากมีการหลั่งเรนินเพิ่มขึ้น 25%
หากโรคแพร่กระจายไปยังปอดจะทำให้เกิดอาการหายใจลำบาก ไอ
เจ็บหน้าอก
ปัสสาวะเป็นเลือดสดโดยไม่มีอาการเจ็บปวด
มีก้อนในท้องเป็นอาการที่พบมากที่สุดเมื่อคลำจะพบว่าก่อนเคลื่อนไหวได้
มีไข้โดยไม่ทราบสาเหตุ
ภาวะแทรกซ้อน
มีภาวะน้ำท่วมปอด
หัวใจขาดเลือด
มีภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง
ผู้ป่วยที่มีอาการความดันเลือดสูงขึ้นจนผิดปกติ
มีภาวะซีดหรือมีภาวะเลือดจาง
มีภาวะยูเรียหรือระดับยูเรียสูงมาก
ระบบประสาทส่วนปลายอักเสบจนถูกทำลาย
โรคกระดูกพรุน
ต่อมไร้ท่อทำงานอย่างผิดปกติ
มีภาวะแทรกซ้อนทางสมองโดยตรง
ติดเชื้อโรคได้ง่ายและมีอาการรุนแรง
PATHOLOGY
เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเริ่มแรกของไต (primitive metanephric blastoma) เกิดจากความผิดปกติของกระบวนการ renal embriogenesis Wilm's tumor พบว่ามีความผิดปกติที่โคโมโซมคือมีการขาดหายไป (small deletion) ของพื้นที่อยู่บนแขนสั้นของโคโมโซมคู่ที่ 11 (11p13) เชื่อว่าตำแหน่งนี้เป็น tumor suppressure gene สําหรับการเกิดมะเร็งชนิดนี้
การวินิจฉัย
แยกระหว่าง Wilms tumor กับ neuroblastoma
Wilms tumor เป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไตจะทำให้ urinary collecting system ถูกดันออกไป
neuroblastoma เป็นก้อนอยู่นอกไตทำให้ไตถูกดันให้ย้ายที่ collecting system ไม่บิดเบี้ยว
การซักประวัติอาการและอาการแสดง อายุของเด็ก การพบก้อนในท้อง อาการที่พบร่วมด้วย เช่น การปัสสาวะเป็นเลือดสด น้าหนักลด เบื่ออาหาร มีไข้ อ่อนเพลีย ความดันโลหิตสูง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจเลือดอาจพบจานวนเม็ดเลือดแดงต่า ถ้ามีอาการปัสสาวะเป็น เลือดเป็นเวลานาน ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ ค่า BUN และ Creatinine มักปกติ
3.การตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
U/S Abdomen
CT scan
การเอกซเรย์ช่องท้องและทรวงอก
ทำการฉีดสารทึบแสงเข้าในหลอดเลือดดำเพื่อขับออกที่ไต (Intravenous pyelogram : I.V.P.)
การตัดชิ้นเนื้อตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค
ระยะของมะเร็งที่ไต มี 5 ระยะ
ระยะที่ 1 ก่อนมะเร็งอยู่เฉพาะที่ไตข้างเดียวและตัดออกได้หมด
ระยะที่ 2 มะเร็งลามออกมานอกไตแต่สามารถตัดออกได้หมด
ระยะท่ี 3 เมื่อผ่าตัดแล้วยังคงมีมะเร็งหลงเหลืออยู่ในท้อง เช่น ลามไปที่ต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วไต
ระยะที่ 4 มะเร็งแพร่กระจายเข้ากระแสเลือด กระจายไปอวัยวะอื่น เช่น ปอด กระดูกและสมอง
ระยะที่ 5 เป็นมะเร็งที่ไตทั้งสองข้างตั้งแต่แรก
การพยากรณ์โรค
อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วย Wilms’ Tumor จะสูงสุดในบรรดาโรคมะเร็งในเด็ก ถ้ายังไม่มีการ แพร่กระจายของโรค โอกาสรักษาให้หายด้วยวิธีการรักษาหลายๆ วิธีร่วมกันดังกล่าวมีถึงร้อยละ 90 ใช้เวลาใน การรักษาประมาณ 15 เดือน ผลการรักษาค่อนข้างดี หายขาดประมาณ 75-80% ทั้งนี้ขึ้นกับระยะของโรค
แต่ถ้า มีการแพร่กระจายของโรคไปแล้ว อัตราการอยู่รอดจะประมาณร้อยละ 50 ซึ่งการแพร่กระจายนี้มักจะกระจาย ไปที่ปอดมากที่สุด รองลงมาคือ ตับ กระดูก และสมอง
วัคซีน
แรกเกิด
BCG
ขนาดเท่าไรที่ให้ ให้ทางไหน
HB1
1 เดือน
HB 2
2 เดือน
DTP-HB-Hib1
OPV1
Rota1
4 เดือน
DTP-HB-Hib2
OPV2
IPV
Rota2
6 เดือน
DTP-HB-Hib3
OPV3
Rota3
รับวัคซีนครั้งต่อไป
9 เดือน
MMR1
กระทรวงสาธารณสุข.(2564). การให้วัคซีนตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข ปี2564
การเจริญเติบโต/พัฒนาการ
พัฒนาการ
ด้านการเคลื่อนไหว
(GM)
นั่งได้มั่นคง และเอี้ยวตัวใช้
มือเล่นได้อย่างอิสระ (sit stable)
วิธีการประเมิน
จัดเด็กอยู่ในท่านั่ง
วางกรุ๋งกริ๋งไว้ด้านข้างเยื้องไปทาง
ด้านหลัง กระตุ้นให้เด็กสนใจหยิบกรุ๋งกริ๋ง
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
และสติปัญญา
จ้องมองไปที่หนังสือพร้อมกับ
ผู้ใหญ่นาน 2 - 3 วินาที
วิธีการประเมิน
จัดเด็กนั่งบนตัก ให้พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือ
ผู้ดูแลเด็กเปิดหนังสือ ชี้ชวนและพูดกับ
เด็กเกี่ยวกับรูปภาพนั้น ๆ
ด้านการเข้าใจภาษา
เด็กหันตามเสียงเรียกชื่อ
ให้เด็กเล่นอย่างอิสระ ผู้ประเมินอยู่ห่างจากเด็ก
ประมาณ 120 ซม. แล้วเรียกชื่อเด็กด้วยเสียงปกติ
ด้านการใช้ภาษา
เลียนเสียงพูดคุย
ถามพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กหรือสังเกตระหว่างประเมินว่าเด็กทำเลียนเสียงพูดหรือไม่
ด้านการช่วยเหลือตัวเองและสังคม
เด็กเล่นจ๊ะเอ๋ได้และมองหาหน้าของ
ผู้เล่นได้ถูกทิศทาง
วิธีการประเมิน
ให้เด็กมองผู้ประเมิน
ใช้ผ้าที่เตรียมไว้บังหน้าตนเอง
พัฒนาการและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกิน
อายุ 6-8 เดือน นั่งได้ดี บดเคี้ยวอาหารได้ดีขึ้น ถือขวดนมได้เอง ส่งเสียงในระหว่างมื้ออาหารเพื่อแสดงความต้องการอาหาร
ด้านการเจริญเติบโต
น้ำหนัก 8.2 kg (ปกติ)
น้ำหนักตามอายุ คำนวณจาก อายุ(เดือน)+9/2 =7+9 /2 = 8 kg
ความยาวลำตัว 65 Cm.(ต่ำกว่าปกติ) :
ความยาวลำตัวตามอายุ ในช่วงอายุ 6 เดือนหลังจะอยู่ที่ 75 cm.
เส้นรอบวงศีรษะในเด็กอายุ 6 เดือนหลัง(ทารก 7เดือน) อยู่ที่45+- 2 cm.
สัญญาณชีพ
BT = 37.9 (36.5-37.4) สูงกว่าปกติ
HR = 122 / min, (100-120) สูงกว่าปกติ
RR = 36 / min, (25-50) สูงกว่าปกติ
BP = 108/70 mmHg (70-90/50-60 mmHg) สูงกว่าปกติ
O2
Sat
= 97 %,
การซักประวัติ/ตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
ความผิดปกติที่พบแต่กำเนิด
อาการที่พบร่วมด้วย เช่น การปัสสาวะเป็นเลือด น้ำหนักลด เบื่ออาหาร มีไข้ อ่อนเพลีย ความดันโลหิตสูง
ปัสสาวะมีเลือดปนไหม
น้ำหนักลดบ้างรึเปล่า
ในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคมะเร็งหรือไม่
ขณะมารดาตั้งครรภ์มีการสัมผัสสารเคมีหรือรังสีหรือไม่
การได้รับวัคซีน
การตรวจร่างกาย
การตรวจเลือดและปัสสาวะ
วิธีนี้ไม่สามารถตรวจพบเนื้องอกได้โดยตรง แต่จะช่วยให้แพทย์ทราบถึงสุขภาพโดยรวมของผู้ป่วย การทำงานของไต ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในไต รวมถึงจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงในร่างกายด้วย
ตรวจร่างกายบริเวณท้อง
ดูลัษณะของหน้าท้อง สีผิว การเคลื่อนไหว ฟังเสียง bowel sound คลำตื้นเเละคลำลึก
การตรวจจากภาพถ่าย
การอัลตราซาวด์ การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan)
การตรวจด้วยคลื่นวิทยุร่วมกับคลื่นสนามแม่เหล็กแรงสูง (MRI Scan)
การเอกซเรย์ทรวงอก
การสแกนกระดูก
การตัดชิ้นเนื้อ
ตรวจระบบผิวหนัง
ประเมิน pitting edema
ระบบทรวงอก
ดูลักษณะ การเคลื่อนไหว อาการหอบเหนื่อย หายใจลำบาก
ระบบประสาทเเละไขสันหลัง
ขนาดรูม่านตา ลักษณะตาพร่ามัว เเนวของไขสันหลัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
การตรวจ CBC: จํานวนเม็ดเลือดแดง (RBC)
Urine: จํานวนเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
Renal function test: ค่า BUN, Cr, eGFR Intravenous pyelogram
การตรวจเพิ่มเติม
Intravenous pyelogram: เป็นการฉีดสารทึบแสงเข้าในหลอดเลือดดาเพื่อขับออกที่ไตข้างที่มีพยาธิสภาพจะพบว่าการขับถ่ายเลวลง (Poor excretion) การตัดชิ้นเนื้อตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค
ปริมาณรังสีที่ใช้
ระยะเวลาการฉายรังสี
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hb = 11g/dl (10.4-12.4) ปกติ
Hct = 33% (31.2-37.
2
) ปกติ
Platelet มีค่าปกติ 250,000/UL
WBC = 9,500 cell/cu.mm (6,000-17,500) ปกติ
Neutrophil = 70% (54-62%) สูงกว่าปกติ
Lymphocyte = 20% (25-33%) ต่ำกว่าปกติ
Eosinophil = 2% (1-3%) ปกติ
UA : Clear,Pale Yellow, Specific gravity = 1.030 ปกติ, pH = 5.5 (4.5-8) ปกติ
ข้อมูลที่ต้องการเพิ่มเติม
ประวัติการตั้งครรภ์ของมารดา
ประวัติทางพันธุกรรม
การเจริญเติบโต/พัฒนาการของเด็ก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การพยาบาลก่อนการได้รับยาเคมีบำบัด
1.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะ เนื่องจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ข้อมูลสนับสนุน
SD
-
OD
แพทย์วางแผนให้เคมีบำบัด
เป้าหมายการพยาบาล :
เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดภาวะเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะตลอดระยะเวลาที่อยู่โรงพยาบาล
การพยาบาล
อธิบายให้มารดาและผู้ป่วยเด็กเข้าใจถึงภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจเกิดภาวะเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะ เพื่อเตรียมความรู้ก่อนการให้ยาเคมีบำบัด
ดูแลได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำ 5% D/NSS/3 1000 ml iv 60 ml/hr.ตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันอันตรายของยาเคมีบําบัดต่อกระเพาะปัสสาวะ
ดูแลได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำ 5% D/NSS/3 1000 ml iv 60 ml/hr.ตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันอันตรายของยาเคมีบําบัดต่อกระเพาะปัสสาวะ
บันทึกปริมาณปัสสาวะเข้าทุก 8 ชั่วโมงเพื่อประเมินการทํางานของระบบทางเดินปัสสาวะ
ผลการประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาเคมีบำบัด
2.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดปฏิกิริยาการแพ้ เนื่องจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ข้อมูลสนับสนุน
SD
-
OD
เเพทย์วางเเผนการให้เคมีบำบัด
เป้าหมายการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดปฏิกิริยาการแพ้ขณะได้รับยาเคมีบำบัด
การพยาบาล
อธิบายให้ครอบครัวผู้ป่วยเด็กทราบชนิดของยาเคมีบำบัดที่ได้รับตลอดจนผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นและการทดสอบการแพ้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความร่วมมือในการดูแลรักษาผู้ป่วยเด็ก
ดูแลให้ได้รับยาเคมีบำบัดตามแผนการรักษา
ประเมินลักษณะของตุ่มที่เกิดจากปฏิกิริยาการแพ้ 1 ชั่วโมง หากพบตุ่มนูนหรือแดงให้ผลเป็นบวกรายงานแพทย์เพื่อปรับแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือเมื่อเกิดการแพ้ไว้ใกล้เตียงผู้ป่วย เช่น ยา epinephrine, diphenhydramine, and hydrocortisone. Wo ให้การช่วยเหลือหากผู้ป่วยมีอาการแพ้ยา
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินปฏิกิริยาการแพ้
ผลการประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดอันตรายจากการเเพ้ยา
การพยาบาลขณะได้รับยาเคมีบำบัด
1.เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อจากการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดออกนอกหลอดเลือด
ข้อมูลสนับสนุน
OD
เเพทย์วางเเผนการให้เคมีบำบัด
SD
-
เป้าหมายการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อจากการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดออกนอกหลอดเลือด
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดาและอันตรายที่เกิดขึ้น หากมีการรั่วซึมของยาเคมีบำบัด เพื่อให้เกิดความเข้าใจและร่วมมือในการดูแลรักษา
ประเมินความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กก่อนการให้ยา เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
3.ขณะให้ยาเคมีบำบัดสังเกตบริเวณหลอดเลือดให้ยาสม่ำเสมอว่ามีการอักเสบบวมแดงหรือไม่ เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างทันท่วงที
ผลการประเมิน
ผู้ป่วยปลอดภัยไม่เกิดอันตรายจากยาเคมีบำบัด
2.มารดาวิตกกังวลและเครียดเกี่ยวกับการดำเนินโรคและแผนการรักษา
ข้อมูลสนับสนุน
SD
มารดาบอกว่ามารดาเป็นผู้ดูแลบุตรตลอดระยะเวลาที่อยู่โรงพยาบาลเมื่อทราบการวินิจฉัยโรคของผู้ป่วย มารดารู้สึกวิตกกังวล เครียด
OD
Dx : Wilm’s Tumor
เป้าหมายการพยาบาล
เพื่อให้มารดาคลายความวิตกกังวลและเครียด
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับมารดาด้วยการทักทาย พูดคุย เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
2.เปิดโอกาสให้มารดาระบายความรู้สึก เพื่อให้ผ่อนคลายความตึงเครียด
3.รับฟังด้วยความตั้งใจ สนใจ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
4.ประสานงานให้มารดาได้สอบถามการดำเนินโรคและแผนการรักษากับแพทย์เจ้าของไข้ เพื่อผ่อนคลายความวิตกกังวล
5.แนะนำให้บิดาและญาติมาช่วยดูแลผู้ป่วยเด็กแทนมารดา เพื่อให้มารดาได้พักผ่อนคลายความเครียด
6.ประเมินความวิตกกังวลของมารดาภายหลังให้การดูแล เพื่อปรับเปลี่ยนแผนการพยาบาล
ผลการประเมิน
มารดามีสีหน้าเเจ่มใส มีความเครียดลดลง เเละเข้าใจถึงตัวโรค
มีโอกาสเกิดภาวะเเทรกซ้อนจากการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ทำ Lt. Radical Nephrectomy
SD
-
เป้าหมายการพยาบาล
การพยาบาล
ระยะพักฟื้นหลังผ่าตัดเร็วมากในเด็กผ่าตัด Wilm's Tumor การดูแลเช่นเดียวกับการผ่าตัดหน้าท้องทั่วไป หลังผ่าตัดระยะแรกปัญหาที่สำคัญ คือ เด็กอาจเกิดภาวะการณ์ไหลเวียนเลือดล้มเหลว เนื่องจากการเสียเลือดควรติดตามสัญญาณชีพทุก 15 นาทีจนครบ 1 ซม.) และทุก 30 นาที (จนครบ 1 ซม.) จากนั้นทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าสัญญาณชีพจะคงที่
ในระยะ 24 ชั่วโมงแรก ควรติดตามปริมาณและความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะ เพื่อประเมินว่าเด็กได้รับเลือดและสารน้ำทดแทนเพียงพอกับที่เสียไปหรือไม่ โดยปัสสาวะควรออกประมาณ 1 มิลลิลิตร / กิโลกรัมของน้ำหนักตัว / ชั่วโมง ความถ่วงจำเพาะไม่เกิน 1,020
ตรวจดูเปลือกตา เพื่อประเมินภาวะซีด ติดตามค่าฮีมาโตคริทเป็นระยะตามแผนการรักษา เพื่อประเมินว่าเด็กได้รับเลือดทดแทนเพียงพอหรือไม่ มีการเสียเลือดต่อเนื่องในอัตรารวดเร็วหรือไม่ ในรายที่มะเร็งมีการกระจายแล้วหลังการผ่าตัดเสร็จจะยังคงมีการสูญเสียเลือดบริเวณที่อยู่ของเนื้องอกต่ออีกระยะหนึ่ง ในกรณีเช่นนี้ศัลยแพทย์มักจะใส่ท่อระบายออกมาพยาบาลต้องประเมินว่าเลือดออกมากน้อยและรวดเร็วเพียงใดร่วมกับตรวจสอบปริมาณเลือดที่ออกจากความชุ่มของผ้าก๊อซปิดแผล
ควรดูแลร่างกายเด็กให้อบอุ่นหลังกลับจากห้องผ่าตัดและติดตามอุณหภูมิกายจนกว่าจะปกติ เนื่องจากในการผ่าตัดเด็กจะสูญเสียความร้อนได้มาก เนื่องจากการเปิดช่องท้องการเปิดอวัยวะภายในการสูญเสียเลือดและจากอุณหภูมิในห้องผ่าตัด ควรดูแลร่างกายเด็กให้อบอุ่น ติดตามอุณหภูมิกายจนกว่าจะปกติ
หลังผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งออกแล้วความดันโลหิตอาจลดลงได้ จึงต้องคอยวัดความดันโลหิตเสมอ
6.ประเมินการทำหน้าที่ของไตข้างที่เหลืออยู่ โดยบันทึกปริมาณปัสสาวะ
7.ขณะให้เคมีบำบัดจะต้องสังเกตอาการของการติดเชื้อ เนื่องจากยากไขกระดูก
8.ประเมินสภาพการทำงานของปอดหลังผ่าตัดทันทีทันใด เพื่อป้องกันอาการแทรกซ้อนหรือการแพร่กระจายไปยังปอด
การประเมินผล
การพยาบาลภายหลังได้นับยาเคมีบำบัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากภูมิต้านทานลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
SD
-
OD
เเพทย์วางเเผนการให้เคมีบำบัด
เป้าหมายการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดการติดเชื้อ
[การพยาบาล
1.ล้างมือ 6 ขั้นตอน คือ 1. ฟอกฝ่ามือและง่ามนิ้วมือด้านหน้า 2. ฟอกหลังมือและง่ามนิ้วมือด้านหลัง 3. ฟอกนิ้วและข้อนิ้วมือด้านหลัง 4. ฟอกนิ้วหัวแม่มือ 5. ฟอกปลายนิ้วมือ 6. ฟอกรอบข้อมือ โดยล้างมือ 5 เวลาคือ 1). ก่อนการสัมผัสผู้ป่วย 2).ก่อนทําหัตถการสะอาดหรือปราศจากเชื้อ 3). หลังสัมผัสสารนํ้าหรือสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย 4).หลังสัมผัสผู้ป่วย 5).หลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
2.ดูแลทำความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย เพื่อลดโอกาสการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย
3.ดูแลด้วยหลัก Aseptic technique เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
4.ตรวจสอบสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินการติดเชื้อในร่างกาย
5.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่น CBC UA เพื่อ
ประเมิน
การติดเชื้อในร่างกาย
ผลการประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดการติดเชื้อ
1.มีภาวะปวดเนื่องจากมีก้อนที่ไต
ข้อมูลสนับสนุน
OD : CT พบก้อนขนาด 8x9 ซม. ที่เนื้อไตด้านขวา
SD : มารดาบอกว่าเจอก้อนที่หน้าท้อง
เป้าหมายการพยาบาล
มีภาวะปวดลดลง หรือ บรรเทาอาการปวดให้เด็กสุขสบายขึ้น
เกณฑ์การประเมิน
1) ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะปวด ได้แก่ ปวดกระสับกระส่ายหายใจเร็ว
2) CT พบก้อนขนาด 8x9 cm. เท่าเดิม ไม่โตมากขึ้น
3) ประเมิน pain score ควรได้คะแนนที่ลดลงกว่าเดิม คือ ประเมินได้ไม่เกิน 4 คะแนน
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกว่ามีภาวะปวดกระสับกระส่าย หายใจเร็ว ร้องไห้บ่อยหรือตลอดเวลา
ประเมินความปวดโดยใช้แบบประเมิน Neonatal Infant Pain Scale (NIPS) คะแนนรวม 7 คะแนน หากมากกว่าหรือเท่ากับ 4 คะแนนควรได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
หากการประเมินมากกว่า 4 คะแนน ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาเพื่อจัดการความปวด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ได้แก่ RR-25-50 bpm, HR 100-120 bpm และ Pain score เพื่อประเมินความปวดและดูแลแก้ไขได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม :
ดูแลให้ได้รับการผ่าตัดแบบ Radical Nephrectomy เพื่อติดก้อนมะเร็งที่ไตออกและป้องกันการแพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียง
แนะนํากิจกรรมที่เบี่ยงเบนความสนใจของเด็ก เช่น เล่นของเล่น เล่นตุ๊กตา ของเล่นที่มีเสียง เพื่อดึงความสนใจของเด็กจากความปวด
ดูแลให้เด็กได้ Bed Rest ลดการเคลื่อนไหวเพื่อลดการกระทบกระเทือนทําให้เกิดความปวดได้
8.หลีกเลี่ยงการพยาบาลหรือหัตถการที่ทำให้ปวดยิ่งขึ้น ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
การประเมินผล
มีภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
ข้อมูลสนันสนุน
BP 109/70 mmHg
ผลct พบก้อนที่ไตซ้ายขนาด 8*9 Cm
HR 122bpm
เรนินสูงกว่าปกติ
เป้าหมาย[การพยาบาล])
ป้องกันภาวะความดันโลหิตสูง
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะความดันโลหิตสูง เช่น ปวดศีรษะ หายใจถี่
สัญญาณชีพปกติ
ขนาดของก้อนไตมีขนาดเท่าเดิมไม่มีขนาดโตขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อนิดตามอาการ
2.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา คือ hydralazine 1 mg iv q 6 hr if sbp>110mmhg
3.สังเกตอาการของของเสียคั่งในร่างกาย เช่น ปัสสาวะออกน้อย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียนบวม คัน
4.ประเมินสารน้ำเข้าออกทุก 8 ชั่วโมง เพื่อประเมินความสมดุลของสารน้ำ
5.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ BUN Cr GFR เพื่อติดตามการทำงานของไต
การประเมินผล
เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร เนื่องจากความอยากอาหารลดลงร่วมกับมีการ NPO
ข้อมูลสนับสนุน
รับประทานอาหารได้น้อย
อ่อนเพลีย
มีก้อนที่ท้องด้านซ้าย
เป้าหมาย
ป้องกันการเกิดภาวะขาดสารอาหาร
เกณฑ์
รับประทานอาหารได้
ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
น้ำหนักตัวไม่ลด
การพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารตามแผนการรักษา คือ นมผสมและอาหารเสริมตามวัยวันละ 1 มื้อ เพื่อช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายไปในระหว่างการรักษา เนื่องจากเด็กที่เป็นมะเร็งจะเกิดภาวะทุพโภชนาการได้อย่างรวดเร็วจากเซลล์มะเร็ง มีการใช้สารอาหารจากเซลล์ปกติ มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากผลข้างเคียงของยา หรือในบางครั้งเด็กบางรายอาจเกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนจากการกระตุ้นด้วยสิ่งที่ความรู้สึก เช่น การมองเห็น ได้ยินเกี่ยวข้องกับการให้ยาเคมีผ่านระบบประสาทรับรู้ได้กลิ่นและความวิตกกังวล
ดูแลให้เด็กได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาคือ 5% D / NSS / 3 1000 ml v 60 cc / hr
ส่งเสริมและกระตุ้นให้เด็กรับประทานอาหารตามแผนการรักษาในขณะที่ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
จัดบรรยากาศของการรับประทานอาหารที่ส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารได้มากขึ้น มีบรรยากาศที่สนุกสนาน หาวิธีผ่อนคลายความวิตกกังวล หลีกเลี่ยงการสัมผัสกลิ่นที่ไม่สะอาด เสียงและภาพที่คนอื่นกำลังอาเจียน
ติดตามประเมินภาวะโภชนาการ เช่น การชั่งน้ำหนัก ผลการตรวจระดับโปรตีน อิเล็คโทรลัยท์ รวมทั้งการบันทึกปริมาณสารน้ำที่ได้รับและขับออก ความรุนแรงของการอาเจียน
การประเมินผล
การักษา
Hydralazine 1 mg v prn q 6 hr if SBP> 110 mmHg
กลุ่มยา
Vasodilator anti hypertensive drugs
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยตรงในการขยายหลอดเลือด ทำให้กล้ามเนื้อของหลอดเลือดเกิดการคลายตัว ลดแรงต้านทานภายในหลอดเลือดและส่งผลทำให้ความดันโลหิตลดลง
ผลข้างเคียง
อาการเวียนศีรษะ ปวดหัว ใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ใจเต้นเร็ว
การบริหารยา
ในเด็กอายุ 3 เดือน-1 ปี: ใช้ขนาด 0.1-0.5 mg / kd / dose ฉีดเข้าหลอดเลือดดำทุก 6-8 ชั่วโมงโดยปรับตามความดันโลหิต
เด็กน้ำหนัก 8.2 kg ใช้ 0.1×8.2=0.82เเละ 0.5×8.2=4.1
ใช้ยา 1 mg จึงเหมาะสม
ข้อบ่งใช้
รักษาความดันโลหิตสูง
Paracetamol syr 3⁄4 tsp oral prn for fever q 4-6 hr
กลุ่มยา
Analgesics
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งกระบวนการสร้าง prostaglandin ในระบบประสาทส่วนกลาง
ผลข้างเคียง
กรณีเกิดพิษเฉียบพลันจาก paracetamol อาการที่พบภายใน 24 ชั่วโมง แรกคือ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เหงื่อออก ง่วงซึม สับสน ความดัน ต่ำ หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การบริหารยา
10-15 mg/kg/dose
น้ำหนัก 8.2 kg =8.2×10 = 82 mg
นำหนัก 8.2 kg= 8.2×15=123mg
ยา ขวดมี120mg/5ml
1ml=120/5= 24mg/1ml
ใช้ยา 82/24=3.4
ใช้ยา 123/24=5.1
ขนาดที่เหมาสมคือ 3.4-5.1 ml
*3/4=4cc ขนาดยาจึงเหมาะสม
ข้อบ่งใช้ :
แก้[ปวดลดไข้
ทำ Lt. Radical Nephrectomy
คือ การผ่าตัดไตออกจากร่างกายโดยการผ่าตัด แบบเปิด แผลหน้า ท้อง
ภาวะแทรกซ้อน
อันตรายต่ออวัยวะใกล้เคียง ได้แก่ ลำไส้ ตับ ม้าม ตับอ่อน
พบเลือดออกในช่องท้องหรือบริเวณแผลผ่าตัด
เกิดรอยรั่วเข้าไปในช่องปอดระหว่างผ่าตัด ทำให้ปอดแฟบ
ประสิทธิภาพการทำงานของปอดและระบบทางเดินหายใจลดลงภายหลังการผ่าตัด
แผลผ่าตัดติดเชื้อ
สมรรถภาพการทำงานของไตลดลงบ้างในช่วงแรกหลังผ่าตัด
อันตรายต่อเส้นประสาทใกล้แผลผ่าตัด
พบไส้เลื่อนที่แผลผ่าตัด :
โภชนาการ
อาหารตามวัย
อาหารทารก 7 เดือน กินอาหารวันละ1 มื้อ ควบคู่ไปกับนมแม่
ข้าวบดละเอียด 4 ช้อนโต๊ะกับน้ำแกงจืดเพิ่มไข่ทั้งฟอง ปลา เนื้อสัตว์
ผลไม้สุก 1-2 ชิ้น เช่น มะละกอสุก
ความต้องการพลังงานทารก6-8 เดือน(632 kcal/day)
พลังงานจากนมแม่ที่ต้องได้( 413 kcal/day)
พลังงานจากอาหารตามวัยต้องได้( 219Kcal/day)
วิธีให้อาหารตามวัยที่เหมาะสม
ป้อนอาหารด้วยความนุ่มนวล
คอยกระตุ้นให้ทารกกินอาหาร แต่ไม่ควรบังคับหรือป้อนนานเกินไป แต่ละมื้อควรใช้เวลาประมาณ “5-20นาที และไม่ควรนานเกิน30นาที
ถ้าทารกปฏิเสธการให้อาหารบางอย่าง ให้ทดลองเปลี่ยนวิธีการปลุงอาหาร นำอาหารหลายชนิดมาผสมกันเพื่อให้ได้ความหยาบละเอียดและรสชาติตามที่ทารกต่องการ
ขณะที่กินอาหาร ควรลอสิ่งล่อใจที่ทำให้ทารกหันไปสนใจมากกว่าอาหารที่กำลังกินอยู่ เช่น ไม่ควรเปิดดูโทรทัศน์
ผู้ป้อนควรเป็นคนที่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับทารก ควรสบตาและพูดคุยกับทารกตลอดเวลาที่ป่อน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการกระตุ้นการเรียนรู้ การให้ความรัก
ให้อาหาร 1 มื้อ
คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก.(2552).
อ้างอิง
กัญญาภัทร เบ้าทอง ,อนุชา ไทยวงษ์และอลิษา ทรัพย์สิน. (2018). ภาวะโลหิตจางและบทบาทพยาบาลในการจัดการภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะก่อนการบ่าาบัดทดแทนไต. วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม.
เกียรติกำจร กุศลและพัสตราภรณ์ แก้วพะวงค์. (2554). การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่ป่วยด้วยโรคมะเร็ง.รายวิชา NUR60-332 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต : สํานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนาและคณะ. (2556) การพยาบาลเด็กเล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพมหานคร: ธ นาเพลสจํากัด.
รุจรา ภูไพบูลย์. (2556). การวางแผนการพยาบาลเด็กสุขภาพดีและเด็กป่วย, กรุงเทพมหานคร: ดรงพิมพ์ธรรมสภา.
โรส ภักดีโต. (2019). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด. สาขาวิชาการพยาบาลเด็กสถาบันพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย.
วรรณิตา สอนกองแดง. (2563). การพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง.ในเนตรทอง นามพรมและจุติมา สุขเลิศตระกูล. (บรรณาธิการ). การพยาบาลทารกแรกเกิดและเด็กที่มีปัญหาสุขภาพเฉพาะ. (หน้า 91-140). เชียงใหม่ : บริษัท สมาร์ทโคตติ้งแอนด์เซอร์วิสจํากัด.