Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข
วิวัฒนาการของการสาธารณสุขมูลฐาน
พ.ศ. 2520
องค์การอนามัยโลกได้กำหนดนโยบาย (1977)
“ประชาชนทุกคนในโลกจะต้องมีสุขภาพ
ดีถ้วนหน้า ภายในปีค.ศ.2000”
พ.ศ. 2521
การสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care) เป็นกลวิธีหลักในการบรรลุเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้า
พ.ศ. 2523
“สุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543”
พ.ศ. 2520-2524
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4
ผู้สื่อข่าวสาธารณสุข (ผสส.)
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยมีเป้าหมายให้ครอบคลุมร้อยละ50 ของหมู่บ้านในชนบท
จัดตั้งกองทุนยาและเวชภัณฑ์ประจำหมู่บ้านอันเป็นเริ่มต้นของการพัฒนา 3 ก ได้แก่
1) กำลังคน
2) กองทุน (หรืองบประมาณ)
3) การบริหารจัดการ การดำเนินงาน
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
การกำหนดดัชนีชี้วัดความจำเป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) สำหรับสังคมไทย
การจัดโครงการหมู่บ้านพึ่งตนเองทางสาธารณสุขมูลฐาน
กิจกรรมที่จำเป็นในการสาธารณสุขมูลฐาน (Essential Element PHC)
งานโภชนาการ (Nutrition:N)
มุ่งส่งเสริมภาวะโภชนาการของประชาชน
ป้องกันภาวะขาดสารอาหารและเกลือแร่
2.งานสุขศึกษา (Education:E)
เป็นกระบวนการถ่ายทอดความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแล
ตนเองด้านสุขภาพอนามัยแก่ประชาชน
3.การจัดหาน้ำสะอาดและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
(Water Supply and Sanitation:W)
การป้องกันโรคหรือลดความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ
การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น
(Surveillance for Local Disease Control:S)
ป้องกันโรคติดต่อและไม่ติดต่อ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Immunization:I)
มุ่งเน้นที่กลุ่มเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปีเด็กวัยเรียน หญิงมีครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์ให้ได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดต่อ เช่น วัณโรค คอตีบ ไอกรม บาดทะยัก ตับอักเสบ ฝีหัด หัดเยอรมัน
งานรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Treatment:T)
การคัดกรองอาการเจ็บป่วยของประชาชน
งานจัดหายาที่จำเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential Drugs:E)
ยาสามัญประจำบ้าน
การอนามัยแม่และเด็ก และการวางแผนครอบครัว (Maternal and Child Health and Family Planning:M)
ดูแลก่อนคลอด การทำคลอด การดูแลหลังคลอด
การดูแลเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี และการวางแผนครอบครัว
กลวิธีในการดำเนินการสาธารณสุขมูลฐาน
การมีส่วนร่วมของชุมชน (People Participation / P.P., Community Involvement / C.I.)
ให้ประชาชนในหมู่บ้านรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้ามาร่วมบริหารงานสาธารณสุข
-ประชาชนในชุมชนเป็นผู้ตระหนักถึงปัญหาของชุมชนของตนเป็นอย่างด
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology / AT)
เทคนิคและวิธีการใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก เหมาะกับแต่ละสภาพท้องถิ่น และประชาชนสามารถปฏิบัติได
การกำหนดกลวิธีการดำเนินงานสาธารณสุข
ความเสมอภาค
โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการระบบส่งต่อในโครงการ
ประกันสุขภาพ
โครงการแก้ปัญหาความยากจนสำหรับผู้ด้อยโอกาสประเภทต่าง ๆ
2.คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
โครงการสาธารณสุขมูลฐาน
การสร้างเครือข่าย
3.การพัฒนาที่ยั่งยืน
การรณรงค์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมบวกหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลบ
การส่งเสริมการใช้ชีวิตที่ดี
4.ประสิทธิผลคุ้มค่า
การใช้ทรัพยากรมนุษย์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
นโยบายการนำภาษีอากรบางประเภทมาใช้กับงานสร้างสุขภาพ (กองทุน สสส.)
บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
แจ้งข่าวสารสาธารณสุข และแนะนำ เผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกับประชาชน
ให้การช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชน
ติดตามการรักษาและจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมาจากสถานบริการสาธารณสุข
ปฏิบัติการสาธารณสุขมูลฐาน 14 องค์ประกอบได้ครอบคลุมทั้งด้านการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษา
พยาบาลเบื้องต้น และการฟื้นฟูสภาพ
เป็นแกนกลางประสานงานในการดำเนินงานสาธารณสุขของหมู่บ้าน โดยกระตุ้นให้มีการจัดประชุมวางแผนและ
ร่วมดำเนินงาน
ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
ขั้นตอนการนำ จปฐ.ไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ขั้นตอนที่ 1 การสำรวจข้อมูล
แบบสำรวจข้อมูลครอบครัวเรียกว่า จปฐ.1
แบบสำรวจข้อมูลหมู่บ้านเรียกว่า จปฐ.2
ขั้นตอนที่2 รู้ปัญหาชุมชน
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ในแบบ จปฐ.3
ทำให้ทราบว่าตัวชี้วัดแต่ละตัว ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่
ขั้นตอนที่3 วิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา
ขั้นตอนที่4 จัดลำดับก่อนหลังและวางแผนแก้ไข
ขั้นตอนที่5 ดำเนินงานตามแผน
ขั้นตอนที่6 ประเมินผล
ขั้นตอนที่7 สอนหมู่บ้านอื่นๆ
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
1) ความเป็นเจ้าของ หรือเป็นหุ้นส่วนในการดำเนินงาน (Partnership Process) ความร่วมมือกัน เสมือนเป็นหุ้นส่วนในการดำเนินงานชุมชน (Partnership) เป็นหัวใจสำคัญของความสำเร็จในการวางแผนแก้ไขปัญหาชุมชน
2) ความเป็นหุ้นส่วนกันจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (community’s capacity) ที่จะตอบสนอง
3) ความต้องการด้านสุขภาพของชุมชน กระบวนการที่จะทำให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินงานในชุมชน
4) การเพิ่มความตระหนักของชุมชนต่อข้อมูล หรือดัชนีที่แสดงภาวะสุขภาพของชุมชน สภาพการเข้าถึงบริการที่
5) ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์เกี่ยวกับเป้าหมายของสุขภาพและผลของการบริการ
6) สนับสนุนบุคคลและองค์กรให้ใช้ทักษะ และแหล่งประโยชน์ในการบริการสุขภาพที่ถูกต้อง
7) กระตุ้นให้ประชาชนร่วมตัดสินใจเกี่ยวกับสุขภาพของตนเอง
8) ส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของสุขภาพโดยรวม
9) ให้บริการที่เน้นความสำคัญตามลำดับความสำคัญ ของประชาชนในชุมชน
10) ยอมรับในความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม และความต้องการของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน
11) ขยายแหล่งประโยชน์ทางสุขภาพของชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างกว้างขวางต่อไป
12) ส่งเสริมการสร้างพันธะสัญญา ที่ทำให้ประชาชนมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาสุขภาพตนเอง อำนวยความสะดวก
เป้าหมายของการพยาบาลชุมชน
1) การป้องกันและควบคุมโรคระบาดในชุมชน
2) การป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
3) การป้องกันการบาดเจ็บ
4) การส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัยที่ดี
5) การรับผิดชอบในการช่วยเหลือและฟื้นฟูสภาพเมื่อเกิดภัยพิบัติ
6) การประกันและรับผิดชอบต่อคุณภาพของบริการ