Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism and Body Temperature - Coggle Diagram
Metabolism and
Body Temperature
สัญญาณชีพ
(Vital signs)
กลุ่มของอาการแสดงสำคัญ
อุณหภูมิกาย (Body temperature)
ระดับความร้อน หรือความเย็นของร่างกายที่วัดค่าออกมาได้
อุณหภูมิผิว (Shell or Skin temperature) อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.6 –37.0 °C
อุณหภูมิแกนกลาง (Core temperature)
อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.5 –37.5 °C
EAR : ค่าที่วัดได้จะต้อง +0.5 °C (1 - 2 °F) vs Rectal temp
ORAL : ค่าที่วัดได้จะต้อง + 0.5 °C (1 - 2 °F) vs Rectal temp
RECTAL : ค่าที่วัดมีความแน่นอนและแม่นยำมากที่สุด จึงให้เป็นค่าในการอ้างอิง
AXILARY : ค่าที่วัดได้จะต้อง + 1 °C (2 -4 °F) vs Rectal temp
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิกาย (Factors affecting normal body temperature)
ปัจจัยที่มีผลต่อการผันแปรของอุณหภูมิกายปกติ
1.การเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาระหว่างวันหรือนาฬิกาชีวภาพ
2.ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน (Phase of menstrual cycle)
3.อัตราการเมตาบอลิซึม (Metabolism rate)
4.ระบบการควบคุมอุณหภูมของสมอง(Temperature-regulating center)
Progesterone
โปรเจสเตอโรน หรือ Progesterone เป็น ฮอร์โมนเพศหญิงที่สร้างจากรังไข่และจากรก (ในขณะตั้งครรภ์)
มีผลทำให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
การสมดุลความร้อน (Heat balancing)
Hyperthermia →High body temperature
Heat production > Heat loss
Heat balancing →Normal body temperature
Heat production = Heat loss
Hypothermia →Low body temperature
Heat production < Heat loss
การผลิตความร้อนจากภายในร่างกาย
(Internal heat production)
Metabolism rate
Basal metabolism rate
Sex
Male > Female
Surface area มาก → BMR มาก
Age
Children > Elderly
Activity
Muscle contraction ↑
MR↑ เพื่อเพิ่มการผลิตพลังงาน
Emotion
Epinephrine secretion↑
Muscle tone↑
Foodintake
MR↑
SDA มีผลประมาณ 6 ชั่วโมง หลังการรับประทานอาหาร
Atmospheric temp.
U shape
SDA
Specific dynamic action การย่อย ดูดซึม ขนส่ง ใช้หรือเก็บสารอาหาร
Extra Metabolism
Shivering thermogenesis (Core temp. ≤ 35.5 °C )
อยู่ในที่เย็นจัด →อาการหนาวสั่นจากการหดตัวเป็นจังหวะถี่ๆ ของกล้ามเนื้อโครงร่าง
Brown adipose tissue (จะถูกสลายมาใช้เวลาหนาวจะไม่เกิดการ Shivering)
Sympathetic nerves
Norepinephrine (NE)
Epinephrine (E)
Mitochondria
Blood vessels
Hormones
ฮอร์โมน Catecholamine (NE, E)
นำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะสั้น
ฮอร์โมน Thyroxine
ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะยาว 1-3 สัปดาห์
สิ่งแวดล้อมภายนอก
(External environment)
กลไกการนำความร้อนออกจากร่างกาย (Mechanisms of heat transfer)
Radiation การแผ่รังสี60 %
Evaporation การระเหย 22 %
Conduction การนำความร้อน 18 %
Convection การพาความร้อน 15 %
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย (Thermoregulatory system)
Hypothalamus
สิ่งเร้า (Stimuli)ความร้อน/ความเย็นจากภายนอกภายในร่างกาย
Peripheral or Cutaneous thermoreceptors
Cold thermoreceptors:
อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 12– 32°C ผ่าน Aδ small myelinated fiber
Warmth thermoreceptors:
อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 30 – 34 °C ผ่าน Cunmyelinated fiber
Central or Core thermoreceptors
Cold-sensitive neurons
: อุณหภูมิโดยรอบที่เย็น
Heat-sensitive neurons:
อุณหภูมิโดยรอบที่ร้อน
Deep body temp. receptor
อวัยวะภายใน
Hypothalamic thermoregulatory center
Posterior hypothalamic nucleus
ศูนย์เพิ่มอุณหภูมิรับสัญญาณ จาก Coldreceptor
Anterior hypothalamic nucleus
ศูนย์ลดอุณหภูมิรับสัญญาณจาก Warm receptor
หน่วยปฏิบัติการที่ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย (Thermo-regulatory effectors)
2.กล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscle)
Somaticnerve
3.ต่อมเหงื่อ(Sweat gland)
Hormone
1.การไหลเวียนเลือดใต้ผิวหนัง(Cutaneous bloodvessels)
Autonomic nerve
4.ต่อมไร้ท่อ(Endocrine gland)
ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland), ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
Behavior
หน่วยปฏิบัติการตอบสนองต่อความร้อน (Response to Heat)
Heat production ↓
Apathy เฉื่อยชา, เคลื่อนไหวลดลง
Thyroidsecretion ↓
Anorexia ลดความอยากอาหาร
Heat loss ↑
Change position and Clothing
Air current ↑
Sweating ↑
Respiration ↑
Cutaneous vasodilation
หน่วยปฏิบัติการตอบสนองต่อความเย็น (Response to Cold)
Heat loss ↓
Piloerection ขนลุก
Curling up ขดตัว
Cutaneous vasoconstriction
Heat production ↑
Shivering thermogenesis
(Core temp. ≤ 35.5 °C)
Voluntary activity ↑
NE, E, Thyroxine secretion
Hungerอยากอาหาร
ความผิดปกติของการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย (Abnormalities of body temperature regulation)
อุณหภูมิกายสูง (Hyperthermia) อุณหภูมิกายอยู่มากกว่า 37.5 °C
Heat exhaustion (การอ่อนเพลียจากความร้อนจากการสูญเสียน้ำจำนวนมาก)
พบในคนที่อยู่ในที่ร้อน, ออกกำลังกายรุนแรงหรือนานในที่อากาศร้อนชื้น เหงื่อออกจำนวนมาก
Heat stroke (อุณหภูมิกายสูงมากกว่า 40.5 °C )
จนทำให้ระบบประสาทเสียหาย
ในคนที่ได้รับยาขับปัสสาวะ
อาการ: อาเจียน, ปวดหัว, สับสน, กระสับกระส่าย, หมดสติ, ช็อค
Heat syncope (ลมแดด)
พบในคนที่ยืนนิ่งๆ นานๆ กลางแดด
Fever หรือ Pyrexia (ไข้)
lateau phase ระยะไข้ทรง
ไข้สูง, หน้าแดง, ตัวแดง, ไม่มีเหงื่อ
Defervescence ระยะสร่างไข้
เหงื่อออก
Rising phase ระยะเริ่มไข้ขึ้น
หนาวสั่น, ผิวซีด, เส้นเลือดที่ผิวหนังหดตัว
เกิดจากสารก่อไข้ (Pyrogens)
Core temp.>37.5 °C โดยไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานหรือออกกำลังกาย
อุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia) อุณหภูมิกายอยู่ต่ำกว่า 35 °C
Moderate (28 -32 °C )
Metabolism↓
ความดัน↓
การเต้นของหัวใจ↓
หารหายใจ↓
Shivering↓
ไม่มีสติ(Unconscious)
Severe (< 28 °C )
หัวใจหยุดเต้น
เซลล์
Mild (32 -35 °C )
Shivering
Cutaneous vasoconstriction
Frostbite
ภาวะเนื้อตายจากความเย็นจัด