Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses I, Merkel's disks : อยู่บริเวณปลายนิ้วมือ…
Sensory and Special Senses I
ระบบประสาทสัมผัส
(Sensory system)
General features of Sensory systems
Topographicorganization
Receptors: Types, Receptors field, Coding, Adaptation
Pathways
Somatosensorysystemsandpain
Touch,Proprioceptivesensation
Thermalsensation,Painsensation
Special sensory system
Vision
Audition and Balancing
Taste
Olfaction
การรับรู้ทางประสาทสัมผัส
(Sensory perception)
Perception : การรับรู้
Modulation : แปลงสัญญาณ
Transmission : ส่งสัญญาณ
Transduction : แปลสัญญาณ
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส (Type of sensation)
•Superficialsensation:ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผวิ(รับรู้ผ่านทางผวิหนัง) Temperature and Two-point discrimination
• Deep sensation : ประสาทสัมผัส การรับรู้แบบลกึ (รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ) Muscle and Joint position sense, Deep muscle pain, Vibration sense
• Visceral sensations : ประสาทสัมผัส การรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง Relayed by Autonomic afferent fibers; Hunger, Nausea, Visceral pain
• Special senses : ประสาทสัมผัส การรับรู้
Smell, Vision, Hearing, Taste, Equilibrium
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น (Characteristic of Stimulus)
• Duration : ระยะเวลา (Receptor adaptation)
• Location : ตาแหน่ง (Topographic organization)
• Modality : ประเภท (Mechanical, Chemical, Photo, Thermal stimuli)
• Intensity : ความแรง (Sensory threshold frequency code)
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก (Common characteristics of receptor)
1.Threshold: ปริมา๖ของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดทำให้เกิดความรู้สึก
Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Receptive fields : ตัวรับหนึ่ง ๆ จะตอบสนองต่อแรงทกี่ ระทาบนพื้นฟผิวเฉพาะ ในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Two-point discrimination threshold : ระยะห่างของจดุ กระตุ้นทที่นีอยที่สุด ที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น 2ตาแหน่งใช้สาหรับวักระยะห่างของReceptivefields
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก (Classification of sensory receptors)
แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย (Somatosensory system)
Dorsal (posterior) column-medial lemniscus pathway
Brodmann area: 3, 1, 2
ทาหน้าที่ในการรับความรู้สึกจาก ผิวหนัง, กล้ามเนื้อ, และข้อต่อ
Primary sensory cortex
Brodmann area: 3, 1, 2 ทาหน้าที่ในการรับความรู้สึกจากผวิ หนัง, กล้ามเนื้อ, และข้อต่อ
Spinothalamic tracts
• Anteriorspinothalamictract: สัมผัส แบบหยาบ (Crude touch)
• Lateralspinothalamictract ความเจ็บ ปวดและอุณหภูมิ (Pain and Temperature)
Nerve fibers and Pain
• Fast pain (เจ็บ) หรือ First pain เหนี่ยวนำบน A-delta fiber บอกตำแหน่งได้ เช่น Pricking pain, Sharp pain, Electric pain
• Slowpain(ปวด)หรือSecondpainเกิดช้าๆ อยู่นาน บอกตำแหน่งแน่นอนไม่ได้ เหนี่ยวนาบน C-fiber บอกตาแหน่งได้ เช่น Dull, Burning, Throbbing, Itching pain
Sites of Pain origin
• Somaticpainเป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนัง , กระดูก, กล้ามเน้ือ, เอ็นข้อต่อ เป็นต้น
• Visceralpainเป็นอาการปวดที่มาจากอวยัวะภายใน เช่น หวัวใจ, ปอด, ระบบทางเดินอาหาร และระบบสืบพันธุ์
• Neuropathicpainเป็นอาการปวดที่มาจากโรค ปลายประสาทเสื่อม
Spinocerebellar tracts
การรับรู้ความรู้สึกจากกล้ามเนื้อลาย เอ็นและข้อต่อเพื่อส่งไปประมวลผลที่สมอง มีความสำคัญเกี่ยวกับการทรงตัว
• Anteriorspinocerebellartracts (Do cross; มีการไขว้ )
• Posteriorspinocerebellartracts (Donotcross;มีไม่การไขว้)
ตัวรับรู้สัมผัส(Tactilemechanoreceptor)
• Free nerve ending: อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
• Ruffini ending: อยู่ลึกในผิวหนังและข้อต่อ กดแรงๆ
Meissner's corpuscle พบบริเวณนิ้วมือ ฝ่ามือ ริมฝีปาก หัวนม
Pacinian corpuscle : อยู่บริเวณผิวหนังรับแรงกด และสั่นสะเทือน
ตัวรับรู้อุณหภูมิ(Thermoreceptor)
• Krause’s corpuscle (end bulb):Cold receptor ตอบสนอง่ออุณหภูมิต่ำ
• Free nerve ending: Cold-Warm receptor ตอบสนองต่ออณุ หภูมิเย็น อุ่น และร้อน
Merkel's disks : อยู่บริเวณปลายนิ้วมือ มี receptive field แคบ รับสัมผสั ที่ละเอยีดอ่อน