Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการสร้างเสริมสุขภาพของประเทศไทย - Coggle Diagram
ระบบการสร้างเสริมสุขภาพของประเทศไทย
พัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพของประเทศไทย
2.2 การสร้างเสริมสุขภาพในการเคลื่อนไหว 'สาธารณสุขมูลฐาน' และสุขภาพดีถ้วนหน้า
ช่วงระหว่าง พ.ศง 2520 - 2530 อันเป็นศตวรรษที่หนึ่งของสาธารณสุขมูลฐานไทย ไม่เพียงแค่งานการสร้างเสริมสุขภาพพื้นฐานต่างๆ ทางด้านโภชนาการ อนามัยแม่และเด็กการวางแผนครอบครัวการสุขภิบาลสิงแวดล้อมและการจัดหายาที่จำเป็น เพื่อที่จะให้มีการปรับปรุงที่ดีขึ้น
2.3 การประยุติใช้กฏบัตรออตาวา
ช่วงทศวรรษที่ 2530-2540 การขับเคลื่อนของนโยบายสาธารณสุข และสุขภาพดีในปี 2543 จะมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านกลไกล อสม ผสส และหน่วยต่างๆ
2.5 การปฏิรูประบบสุขภาพ
ประเทศไทยจะมีการปฏิรูประบบสุขภาพ เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ในปี 2543 โดยที่มี ศ.นพ. ประสพ รัตนากร เป็นประธาน
2.4 ทศวรรษ 2540 ถนนสายหลักสู่การสร้างเสริมสุขภาพ
ทศวรรษที่ 2540 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นช่วงเวลาที่แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพเป็นหลักปักฐานประเทศไทยที่ชัดเจนที่สุด
2.6 การเกิดขึ้นของ การส่งเสริมสุขภาพ
ในปี 2544 นับเป็นหลักหมายที่สำคัญที่สุด ที่แสดงการพัฒนาสู่ความแข็งแรงของการสร้างเสสริมสุขภาพในประเทศไทย สสส ขึ้น เมื่อเดือนกรกฎาคม 2543 และกลายเป็นพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในอีก 1 ปีถัดมา
การร่วมมือกับคณะกรควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ ศูนย์วิจัยสุรา
การทำงานร่วมกับภาคีเครื่อข่ายต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ
การสนับสนุนการลดอุบัติเหตุทางถนน
การผลักดันและร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ
2.8 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแก่งชาติ ภาพฝันอนาคต
กระบวนกาขับเคลื่อน พรบ สุขภาพแห่งชาติที่ออกผลเป็นกฎหมายใน พ.ศ. 2550 ยังเกิดผลสำคัญอีกประการหนึ่งติดตามกันมา นั้นก็คือ การบัญยัติให้มีรัฐธรรมนูญว่ด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
2.7 กองทุนสุขภาพชุมชน
ริร้าบการสร้างเสริมสุขภาพของประเทศในทศวรรษนี้ ได้ป่านการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ช่วยบริการการเข้าถึงการรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐาน
2.1 การสร้างเสริมสุขภาพก่อนยุคสาธารณสุขมูลฐาน
( ก่อนหน้า ฉบับที่ 1) ประเทศไทยมีการดำเนินการหลากหลาย ตามนัยยะความหมายของการสร้างเสริมสุขภาพคือการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อกับสุขภาพควบคู่กับการจัดบริการสาธารณสุขโดยรัฐ และที่ชัดเจนคือการป้องกันโรคระบาดสำำคญและการสุขภิบาลสิ่งแวดล้อม จึงมีโครงการกวาดล้างโรคติดต่อร้ายแรงที่สำคัญ เช่น คุดทะราด ไข้ทรพิษเป็นต้น จึงมีการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก และรวมไปถึงงานโภชนาการและงานสาธารณสุข อีกด้วย