Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุตามบทบาทของพยาบาล - Coggle Diagram
การฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุตามบทบาทของพยาบาล
การฟื้นฟูสภาพ หมายถึง ความพยายามที่ช่วยบุคคลพัฒนาความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกาย เผชิญปัญหาที่ดีขึ้น พึ่งพาน้อยที่สุดและพอใจในชีวิต
การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ หมายถึง เสริมสร้างสมรรถภาพหรือความสามารถของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น
เป้าหมายในการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ
-ดำรงไว้ซึ่งความมีศักดิ์ศรี
-สนับสนุนความเป็นอิสระสูงสุด
-ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
-ปรับปรุงคุณภาพชีวิต
เป้าหมายของสหสาขาวิชาชีพในการฟื้นฟูผู้สูงอายุ
-มุ่งเน้นที่ความสามารถ
-การปรับตัว
-การทำให้ระดับการทำหน้าที่กลับคืนมาดีดังเดิม
-ส่งเสริมคุณภาพชีวิตในระดับที่สามารถยอมรับได้
-การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
-ดำรงความมีศักดิ์ศรีในตนเอง
-ให้ความรู้ใหม่
-การคงสภาพระดับการทำหน้าที่
-สนับสนุนให้มีความเป็นอิสระสูงสุด
-ส่งเสริมการเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน การกลับเข้าสู่ชุมชน
-ส่งเสริมการช่วยเหลือตนเองและช่วยตนเองอย่างพอประมาณ
-ส่งเสริมการมีความผาสุกสูงสุด
หน้าที่ของสมาชิกในทีมสหสาขา
-แลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญในแต่ละด้าน
-ให้การดูแลแบบองค์รวมโดยวางแผนการดูแลที่มีขอบเขตกว้างขวางขึ้น
-สนับสนุนซึ่งกันและกัน
-ตั้งเป้าหมายร่วมกันเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับผลลัพธ์การดูแลสูงสุด
กระบวนการฟื้นฟูสภาพ
-ตั้งเป้าหมายร่วมกัน
-ปรับปรุงแผนการดูแลของแต่ละคน
-สมาชิกของสหสาขาวิชาชีพประสานงานร่วมกับผู้ป่วย
-ช่วยเหลือผู้ป่วยให้มีภาวะพึ่งพาน้อยที่สุดและอิสระมากที่สุด
-ประสานงานร่วมกันระหว่างวิชาชีพ
หลักปฏิบัติในการฟื้นฟูสภาพสำหรับพยาบาลผู้สูงอายุ
-ขจัดหรือลดข้อจำกัดในการช่วยเหลือตนเอง
-ให้การช่วยเหลือในรายที่ไม่สามารถทำกิจกรรมเองได้
-เพิ่มความสามารถในการดูแลตนเอง
บทบาทของพยาบาลผู้ปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ
1.บทบาทเฉพาะ
-ป้องกันและรักษาแผลกดทับ
-ดูแลผู้ป่วยที่ซับซ้อน
-กำหนดขอบเขตการทำงาน
2.เป็นผู้ประสานงาน
การประเมินการฟื้นฟูสภาพ
-ประเมินการสนับสนุนทางสังคม
-ประเมินทางด้านจิตใจและการรักษา
-ประเมินการทำหน้าที่และการรักษา
-ประเมินทางด้านสิ่งแวดล้อม
ประเภทของความพิการ
ความพิการทางการเห็น
-ตาบอด
-ตาเห็นเลือนราง
ความพิการทางการได้ยิน
-หูหนวก
-หูตึง
ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย
1.ความพิการทางการเคลื่อนไหว หมายถึง บุคคลที่มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ที่มีการบกพร่องหรือการสูญเสียความสามารถของอวัยวะในการเคลื่อนไหว
2.ความพิการทางร่างกาย หมายถึงบุคคลที่มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ที่มีความบกพร่องหรือความผิดปกติของศรีษะ ใบหน้า ลำตัว และภาพลักษณ์ภายนอกของร่างกาย