Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CHINA PHILOSOPHY (ปรัชญาจีน) - Coggle Diagram
CHINA PHILOSOPHY
(ปรัชญาจีน)
อภิปรัชญาจีน
พระผู้สร้างแต่ไม่ได้สร้างโลก
หยาง (Yang) อันเป็นพลังทางบวก
และหยิน พลังทางลบ (Negative Power)
นับถือธรรมชาติ เรียกว่า เชน (Shen)
แบ่งปรัญาจีนตามช่วงเวลา
ยุคกลาง เป็นยุคแห่งการผสาผสานความคิดที่ต่างกัน รวมทั้งการเผยแพร่ของพุทธศาสนาจากอินเดียเข้าไปในประเทศจีน ทำให้เกิดการแข่งขันระหว่างปรัชญาเดิมกับพุทธศาสนา
ยุคที่สาม เป็นเริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 11 ลักษณะเด่นเป็นปรัชญาสังเคราะห์
ยุคแรก เป็นยุคของปรัชญาจีนที่ยิ่งใหญ่ 3 ลัทธิ คือ ลัทธิขงจื้อ (Confucianism), ลัทธิเต๋า (Taoism) และลัทธิม่อจื้อ (Moism) รวมทั้งกลุ่มลัทธิเนติธรรม (Legalists)
แบ่งตามการปกครอง
และสังคม
กลุ่มไม่เห็นพ้องกับการฟื้นฟูระบบเก่ามาใช้
แต่ให้ปรับปรุงลัทธิธรรมเนียมใหม่ให้เหมาะสมกับสมัย ได้แก่ บักจื้อ
กลุ่มที่อเนจอนาจใจกับธรรมเนียมปกครองแบบเก่าต้องถูกทอดทิ้ง
จึงต้องการฟื้นฟูให้กับรุ่งโรจน์ ได้แก่ ขงจื้อ เม่งจื้อ
กลุ่มไม่ปราถนาจะยุ่งกับสังคมมากเกินไป
แต่ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ได้แก่ เล่าจื้อ (เล่าสือ)
คุณลักษณะ
หลักพื้นฐานที่สำคัญที่สุดในการดำเนินชีวิตคือซื่อสัตย์ต่อหน้าที่
บุคคลเป็นสัตว์สังคมจึงต้องทำประโยชน์ต่อสังคม
ยึดหลักมนุษยภาพนิยมเป็นสำคัญ จึงถือประชาชนเป็นอันดับแรก
เน้นธรรมชาติของบุคคลมีความเสมอภาคมาโดยกำเนิด มีความดีมาโดยกำเนิด
ทฤษฎีกับการปฏิบัติไม่สามารถแยกจากกันได้ในทุกกรณี
ปกครองโดยบุคคลนิยมประพฤติปฏิบัติด้วยความสมัครใจตนเอง ภายใต้ความสำนึกหน้าที่ดีกว่าปกครองด้วยกฎหมาย
ถือหลักธรรมชาติเป็นหลักเหตุผล หลักความจริงเป็นพื้นฐานของชีวิตและเอกภาพ
เน้นถึงการปกครองที่ทรงไว้ซึ่งความเป็นนักปราชญ์
เน้นความสำคัญจริยศาสตร์ การเมือง วรรณคดี และศิลปะ แสวงหาความรู้
เน้นในเรื่องฝึกฝนตนเอง ยกย่องคุณค่าของความเป็นมนุษย์
เชื่อเรื่องวิญญาณ การเซ่นไหว้ เคารพ บูชาบรรพบุรุษ
เป็นปรัชญาที่คล้อยตามธรรมชาติ
มีลักษณะคำสอนเป็นนามธรรมมีความหมายลุ่มลึก ใช้ภาษาเชิงอุปมาอุปไมย
4.ซุ่นจื้อ (Hsün Tzu)
ตามธรรมชาติแล้วมนุษย์ชั่วร้าย ซึ่งเกิดจากอารมณ์มีความต้องการอยากที่จะได้ เพื่อที่จะขจัดความชั่วร้าย มนุษย์จะต้องปฏิบัติตนอยู่ในกรอบแห่งข้อบังคับของสังคม ความดีงามและการศึกษาก็มีส่วนช่วยทำให้มนุษย์เป็นคนดี
5.หยางจื้อ (Yang Tzu)
ถือว่าเต๋าเป็นพลังธรรมชาติที่มืดบอด สร้างสิ่งต่างๆอย่างไม่มีแผนการ เป็นปรัชญาเต๋าลักษณะวัตถุนิยม
ปรัชญาชีวิต : ทุกสิ่งทุกอย่างรวมทั้งการเป็นไปของชีวิตขึ้นอยู่กับชะตากรรมไม่มีอะไรสามารถฝืนชะตากรรม
ปรัชญาสังคมและการเมือง : คนเราจะมีความสุขได้ก็ต้องมีความอิสรเสรีไม่ตกอยู่ในอำนาจใดๆ
6.ม่อจื้อ (Mo Tzu)
สำนักเต๋าหรือสำนักคุณธรรม (Taoism also called Daoism) เห็นว่า เรื่องผ่านมาแล้วก็เหมาะกับคนสมัยนั้น ไม่ควรรื้อฟื้นขึ้นมาอีก ควรจะหาอะไรใหม่ๆที่ เหมาะสม
สาระสำคัญของคำสอนของม่อจื่อ
ความรักแบบเสมอภาคไม่แยกเขาแยกเรา
ต่อต้านการทำสงครามรุกราน
การเลือกคนดีมีความสามารถไว้ใช้งานโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ
การปกครองต้องมีผู้นำ
การใช้จ่ายอย่างประหยัด
ต่อต้านการจัดงานศพแบบใหญ่โตและไว้ทุกข์ยาวนาน
ต่อต้านการดนตรี
ต่อต้านความเชื่องมงาย
2.เหลาจื้อ (Lao tzu)
ความบริสุทธิ์อันยิ่งใหญ่ใน 3 โลก
คัมภีร์เต๋าเต็กเก็ง หรือ เต๋าเตอะจิง (Tao Te Ching)
เน้นหลักธรรมชาติและการไม่กระทำ
ไม่แย่งชิงแสวงหาความเงียบสงบ
ไม่ต้องทำ ปล่อยตามธรรมชาติ ธรรมชาติคือธรรมชาติ ไม่มีเป้าหมาย
ทุกสิ่งทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลงทุกสิ่งทุกอย่างขัดแย้งและตรงกันข้าม
เต๋าเป็นที่มาของสรรพสิ่งไม่มีรูปลักษณ์ มองไม่เห็น สัมผัสไม่ได้
7.จวงจื้อ (Zhuangzi)
ผู้รจนาคัมภีร์เต้าเต๋อจิง (แต้จิ๋ว: เต๋าเต็กเก็ง)ได้รับการยกย่อง
เป็นหนึ่งในสามจอมปราชญ์แห่งสำนักคิดฝ่ายเต๋า
การใช้ชีวิตที่สุขสบายคือการทำตัวให้สอดคล้องกับธรรมชาติไม่แสวงหาลาภยศ สรรเสริญ ไม่ผูกมัดตัวเองด้วยหน้าที่การงาน ปล่อยตัวตามสบาย
1.ขงจื้อ (Confucius)
ปรัชญาสังคม : สังคมมิใช่อื่นไกล ก็คือการรวมตัวของปัจเจกชนนั่นเอง คนเรามิใช่อยู่โดดเดี่ยว จะต้องเกี่ยวข้องกับคนอื่นด้วย
ปรัชญาด้านการเมือง : สังคมทั้งหลายเมื่อมารวมกัน ก็เป็นเหตุให้เกิดรัฐขึ้นมา เมื่อมีรัฐหรือประเทศก็ต้องมีผู้ปกครองหรือรัฐบาล คอยปกครองดูแลสังคมให้เป็นไปอย่างปกติสุขและเจริญก้าวหน้า
ปรัชญาปัจเจกชน : ความเจริญหรือความเสื่อมของโลก ของสังคมเกิดมาจากปัจเจกชนหรือแต่ละบุคคลเป็นรากฐาน ฉะนั้นรัฐจะต้องพัฒนาคนให้ดีเสียก่อน
ปรัชญาจริยธรรม :สังคมของมนุษย์ในแง่ของความสัมพันธ์ตามทฤษฎีแบบ Organism คือสังคมประกอบขึ้นจากหน่วยย่อย คือ ปัจเจกชนแต่ละคน ถ้าแต่ละคนเป็นคนดี สังคมก็จะดีด้วย
ลัทธิขงจื๊อ (Confucianism) เห็นว่าขนบธรรมเนียมโบราณที่ดีงามควรฟื้นฟูขึ้นมาใหม่และนำมาปฏิบัติ
ปรัชญาด้านการศึกษา : อุดมคติความเป็นครู ไม่หวงวิชา ไม่หลงตัวเอง มีฉันทะ ประพฤติสิ่งดีงาม
8.ฮั่น เฟ่ย จื้อ (Han Fei Tzu)
หลักการปกครองโดยใช้หลักนิติธรรม ให้ทุกคนต้องอยู่ใต้กฎหมาย และตั้งโรงเรียนนิติธรรม
เรียบเรียงแนวคิดการปกครองทั้งสิ้น 55 บท มีชื่อว่า “หานเฟยจื่อ”
ปรัชญานิตินิยม (Legalism) เป็นศิษย์ของสวินจื่อ หรือเรียกอีกชื่อว่านักปรัชญาหยู
สังคมในอุดมคติของหานเฟยจื่อ
ต้องบังคับพลเมืองให้ทำกสิกรรม และบุกเบิกผืนแผ่นดินเพื่อ
เพิ่มพูนโภคทรัพย์ของพลเมือง
กำหนดการลงโทษ และดำเนินการลงโทษเพื่อควบคุมคนเลว
กำหนดให้มีการเก็บภาษีอากร บรรจุยุ้งฉาง และท้องพระคลังให้เต็ม เพื่อขจัดความอดอยากและเลี้ยงกองทัพ
จัดให้มีการฝึกฝนวิชาการรบให้แก่ทุกคน และให้หมั่นฝึกซ้อมจนชำนาญ
จุดเด่นของแนวคิดหันเฟยในเรื่องการปกครองโดยกฎหมายคือ กฎหมาย ศิลปะ และอำนาจ เป็นสิ่งที่ต้องใช้แบบผสมผสานกัน
สังคมและการเมืองได้เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด วิธีการของขงจื้อ ในการนำจารีตของโจวมาใช้ ไม่เหมาะสม
3.เม่งจื้อ (Meng Tzu or Mencius)
โดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์ทุกคนมีพื้นฐานเป็นคนดีมาแต่กำเนิด แต่สิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีต่าง ๆ ทำให้คนเราเปลี่ยนแปลงไป