Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณวิทยา (Axiology) - Coggle Diagram
คุณวิทยา
(Axiology)
นิยามของคุณวิทยา
ศาสตร์ที่ศึกษาความจริง (Fact)
ศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องคุณค่า (Value)
คุณค่านอกตัว (Extrinsic Value)
เป็นเพียงวิถี (Mean) อยู่ที่ผู้กระทําปรารถ
คุณค่าในตัว (Intrinsic Value)
เป้าหมายของสิ่งหรือการกระทํานั้นอยู่ในตัวเองไม่เป็นวิถี
จริยศาสตร์ (ETHICS)
การตัดสินคุณค่าทางจริยะ
ปัญหาอุดมคติทางจริยศาสตร์
หรือเกณฑ์การตัดสินคุณค่า
สุขนิยม (Hedonism) เน้นแสวงความสุข
ความสะดวกสบายทางกายเป็นสําคัญ
สุขนิยมแบบอัตนิยม (Egoistic Hedonism)
มนุษย์ทุกคนล้วนเห็นแก่ตัว
โสฟิสท์ ชีวิตมนุษย์สิ้นสุดที่ความตายดังนั้นควรแสวงหาความสุขสบาย
อริติปปุส สิ่งที่ดีทุกสิ่งสามารถตัดสินกันได้ด้วยความสุข
เอพิคคิวรุส มนุษย์มีแต่สสารเมื่อตายไปก็
ไม่มีอะไรเหลือไม่มีวิญญาณหลังความตาย ไม่มีนรกและสวรรค์
สุขนิยมแบบสากล (Universalistic Hedonism)นอกจากความสุขสบายส่วนบุคคลแล้วยังคํานึงถึงความสุขสบายของคนส่วนใหญ่
อสุขนิยม (Non-Hedonism)
เน้นแสวงหาความสุขที่ละเอียดอ่อน (ทางจิต)
ปัญญานิยม (Rationalism) ถือปัญญาหรือความรู้เป็นสิ่งดีที่สุด
วิมุตตินิยม (Salvationism) ถือการทําตัวเองให้หลุดพ้นจากการตก
เป็นทาสของตัณหาเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
ลัทธิสโตอิก (Stoicsm) ความยากเป็นต้นตอ
ของความทุกข์ความเดือดร้อนของคนเรา
ลัทธิซินนิค (Cynicism) มีชีวิตอยู่อย่างง่าย
เพียงเพื่อแสวงหาหนทางสู่ปัญญา
มนุษย์นิยม (Humanism)
เน้นแสวงความสุขระหว่างกลาง
เกณฑ์วัดภาวะจริยธรรม
ระเบียบหรือกฎเกณฑ์ที่แน่นอน (Categorical Imperative)
ความสุข (Happiness)
ความบริสุทธิ์ทางภาวะจิตใจ (Perfection)
ความดีอันสูงสุด (Ultimate Good)
องค์ประกอบของเกณฑ์ตัดสิน
ผลของการกระทํา (Consequences)
ผู้ทําหรือคุณลักษณะของผู้ทํา (Character)
แรงจูงใจในการกระทํา (Motive)
ตัวการกระทํา (Action)
เทียบกับมติของบุคคลในอุดมคติ
ขอบเขต
คุณค่าการกระทําของมนุษย์
เกณฑ์ตัดสินคุณค่าการกระทําของมนุษย์์
อุดมคติหรือเป้าหมายสูงสุดของชีวิต
หลักจริยศาสตร์ในศาสนาและลัทธิ
ศาสนาพุทธยึดหลักมนุษยธรรม 5 ประการ
ลัทธิขงจื้อ เน้นหลักที่คนในสังคมจะปฏิบัติต่อกัน
ศาสนาเชน จุดมุ่งหมายสูงสุดคือโมกษะ ความหลุดพ้นจากกิเลศทั้งปวง
ศาสนายิว-คริสต์ จุดมุ่งหมายสูงสุดคือการบรรลุถึงความรอด
ศาสนาอิสลาม จุดมุ่งหมายสูงสุดคือการบรรลุถึงสวรรค์
ลัทธิเต๋า ความโลภเป็นภัยพิบัติ บุคคลพึงเอาชนะความชั่ว
ลัทธิขงจื้อ เน้นหลักที่คนในสังคมจะปฏิบัติต่อกัน
ศาสนาชินโต เชื่อฟังคำสอนเทพเจ้า ทำหน้าที่ของตน
ความหมาย
พระสติมา สติสมฺปนฺโน (นารีนุช) จริยศาสตร์ภาษาละติน ethos, ethikos หมายถึง อุปนิสัย ประเพณี อารมณ์ หรือกิริยาท่าทาง : จริยศาสตร์ คือศาสตร์ที่ว่าด้วยความประพฤติ
สุเมธ เมธาวิทยากุล, จริยศาสตร์ (ethics) ภาษาสันสกฤตคือวิชาที่ว่าด้วยข้อควรกระทำ จึงหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยควรประพฤติของมนุษย์ อะไรที่ควรกระทำ อะไรที่ควรเว้น
ประโยชน์
ทําให้บุคคลปรับความประพฤติของตนให้สอดคล้องกับมาตรฐมาน
แห่งคุณค่าทางจริยศาสตร์
ทําให้บุคคลรู้จักคุณค่าของชีวิตว่าคุณค่าของความเป็นคนอยู่ที่ไหน
ทําให้ผู้ศึกษารู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด
การศึกษาจริยธรรมเป็นการศึกษาถึงกฎธรรมชาติของชีวิต
สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)
การตัดสินคุณค่าทางสุนทรียะ
เอกภาพ
ความดี เป็นความกลมกลืนระหว่างเหตุผลกับความสํานึก
หรือหน้าที่กับความสํานึกในหน้าที่
ความงาม เป็นความกลมกลืนระหว่างรูปแบบ
กับเนื้อหาหรือส่วนประกอบต่าง ๆ
ความจริง เป็นเรื่อราวของวุฒิปัญญาหรือการคิดหาเหตุผล
ขอบข่าย
ตําแหน่งของความงามเป็นอัตวิสัยหรือวัตถุวิสัย
ศิลปะและทฤษฎีศิลปะคืออะไร
ความงามคืออะไร
สุนทรียภาพกับอารมณ์ความรู้สึก
ศิลปะคือ
อริสโตเติล ถือว่า ศิลปะคือการเรียนแบบความจริง
โครเซ่ ถือว่าศิลปะคือการแสดงสัญชาติญาณของมนุษย์ออกมาให้ปรากฎ
เลโอ ตอลสอย ถือว่าศิลปะคือการสื่อสารอารมณ์ที่เกิดขึ้น
กับบุคคลหนึ่งให้คนอื่น ๆ
ซิกมันต์ ฟรอยต์ ถือว่าการเล่นและศิลปะเป็นการแสดงออกทางจินตนาการ
และการตอบสนองความต้องการให้สําเร็จของมนุษย์
ประโยชน์
ส่งเสริมความเจริญทางปัญญา
ส่งเสริมความเจริญทางอารมณ์
ส่งเสริมการรับรู้ให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์
สามารถแก้ไขปัญหาการดําเนินกิจกรรมทางศิลปะ
ปรัชญาศิลปะ
จักษุศิลปะ (Visual art)
จิตศิลปะ (Imaginative art)
ศิลปะผสม (Mixed art)
คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์
ทฤษฎีแบบจิตวิสัยหรืออัตวิสัย (Subjectivism)ให้ความสําคัญกับจิตของผู้รับรู้ และเห็นว่าไม่มีคุณสมบัติใด ที่ทําให้เกิดความรู้ทางสุนทรียะอยู่ในวัตถุ
ทฤษฎีวัตถุวิสัย (Objectivism) ให้ความสําคัญกับวัตถุทางสุนทรียเพียงอย่างเดียวโดยไม่ข้องกับจิตหรือความรู้สึกของผู้รับรู้
ทฤษฎีสัมพัทธ์นิยม (Relativism) มีทรรศนะอยู่ตรงกลางระหว่างทฤษฎีวัตถุวิสัยให้ความสําคัญทั้งจิตของผู้รับรู้และวัตถุ
ความหมาย : ศาสตร์หรือวิชาที่ว่าด้วยความรู้ที่เกี่ยวกับความงาม
ปรัชญาคุณค่าประกอบด้วย
จริยศาสตร์
สุนทรียศาสตร์