Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
METABOLISM AND BODY TEMPERATURE, F3CB5872-8898-4E6D-98F7-D878BCFD2E7A,…
METABOLISM AND BODY TEMPERATURE
Internal heat production
Metabolisa rate
Basal metabolism rate
Age : Children > Elderly
Sex : Male > Female
Surface area มาก → BMR มาก
Activity : Muscle contraction ↑, MR↑ เพื่อเพิ่มการผลิตพลังงาน
Emotion : Epinephrine secretion↑, Muscle tone↑
Food intake : MR↑: SDA มีผลประมาณ 6 ชั่วโมง หลังการรับประทานอาหาร
Atmospheric temp. : U shape
SDA:Specificdynamicaction การย่อยดูดซึมขนส่งใช้หรือเก็บสารอาหาร
Extra metabolism
Shivering thermogenesis (Core temp. ≤ 35.5 °C )
อยู่ในที่เย็นจัด → อาการหนาวสั่นจากการหดตัวเป็นจังหวะถี่ ๆ ของกล้ามเนื้อโครงร่าง,
อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ → ผลติความร้อน ↑
Brown adipose tissue (จะถูกสลายมาใช้เวลาหนาวจะไม่เกิดการ Shivering)
Blood vessels
Sympathetic nerves : Norepinephrine (NE), Epinephrine (E)
Mitochondria
Hormones
ฮอร์โมน Catecholamine (NE, E) ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะสั้น
ฮอร์โมน Thyroxine ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะยาว 1-3 สัปดาห์
Body temperature
อุณหภูมิร่างกาย —->ระดับความร้อนหรือเย็นของร่างกาย ที่วัดออกมาได้หรือเป็นความสมดุลระหว่างการผลิต และการสูญเสียของความร้อนที่ออกจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิแกนกลาง (Coretemperature) อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.5–37.5°C จะมี Thermoregulatorysystem เป็นระบบควบคุมอุณหภูมิแกนกลางให้อยู่ในช่วงนี้
อุณหภูมิผิว (ShellorSkintemperature) อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.6–37.0°C
ผิวเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนความร้อนกับสิ่งแวดล้อม
แปรผันได้มากกว่าอุณหภูมิแกนกลาง
ทั่วไปจะมีค่าน้อยกว่า Core temperature
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิกาย (factors affecting normal body temperature)
อุณหภูมิร่ากายปกติมีความผันแปรไม่เกิน 1°C ยกเว้นมีไข้หรือออกกาลังกายหนักๆ
ปัจจัยที่มีผลต่อการผันแปรของอุณหภูมิกายปกติ
การเปลี่ยนแปลงช่วงระหว่างวันหรือนาฬิกาชีวภาพ (daily cycle : Circadian rhythm)
ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน (phase of menstrual cycle)
อัตราการเมตาบอลิซึม (metabolism rate)
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง (temperature-regulating center)
Vital signs
สัญญาณชีพ (Vital signs) สัญญาณชีพเป็นกลุ่มของอาการแสดงสาคัญท่ีบ่งบอกถึงสถานะของกระบวนการที่ทำให้ร่างกายมีชีวติ อยู่ได้ ค่าปกติของสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันไปตามอายุ น้ำหนัก เพศ และสุขภาพโดยรวม
Heat balancing
Heat balancing → Normal body temperature
Heat production = Heat loss
Hyperthermia → High body temperature
Heat production > Heat loss
Hypothermia → Low body temperature
Heat production < Heat loss
External environment
Heatlossfrominternalorgans(การระบายความร้อนจากอวัยวะภายใน)
Major sit of heat production → Rest of the body
Core→Skin
Conduction การนำความร้อนจากอวัยวะหนึ่งไปยังอวัยวะหนึ่ง
Convection การพาความร้อนไปกับเลือด
Rate of blood flow; Cold environment → Skin blood flow ↓
Temp. difference (Tissue vs Blood supply)
กลไกการนำความร้อนออกจากร่างกาย (Mechanisms of heat transfer)
การแผ่รังสี 60 % Radiation
การระเหย 22 %
Evaporation
การนำความร้อน 18 % Conduction
การพาความร้อน 15 % Convection
Thermoregulatory system
สิ่งเร้า (Stimuli) ความร้อน/ความเย็นจากภายนอกภายในร่างกาย
ตัวรับอุณหภูมิ (Thermoreceptors)
Peripheral or Cutaneous
Peripheral or Cutaneous thermoreceptors
Cold thermoreceptors; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 12 – 32 °C ผ่าน Aδ small myelinated fiber
Warmth thermoreceptors ; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 30 – 34 °C ผ่าน C unmyelinated fiber
Central or Core (สมอง)
Central or Core thermoreceptors
Cold-sensitiveneurons ; อุณหภูมิโดยรอบที่เย็น
Heat-sensitiveneurons ; อุณหภูมิโดยรอบที่ร้อน
Deep body temp. receptors
Spinal cord, Abdominal viscera, Around the Great vein
Expose to the body core temp.
Hypothalamic thermoregulatory center
Anterior hypothalamic nucleus
ศูนย์ลดอุณหภูมิรับสัญญาณจาก Warm receptor
Posterior hypothalamic nucleus
ศูนย์เพิ่มอุณหภูมิรับสัญญาณ จาก Cold receptor
Abnormalities of body temperature regulation
Heat syncope (ลมแดด)
พบในคนที่ยืนนิ่ง ๆ นาน ๆ กลางแดด → Venous return ↓
Heat exhaustion (การอ่อนเพลียจากความร้อนจากการสูญเสียน้ำจำนวนมาก)
พบในคนที่อยู่ในที่ร้อน, ออกกำลังกายรุนแรงหรือนานในที่อากาศร้อนชื้น
เหงื่อออกจำนวนมาก → ร่างกายขาดน้ำ , ความดันโลหิตต่ำ, หัวใจเต้นเร็วขึ้น
Heatstroke(อณุ หภูมิกายสูงมากกว่า40.5°C)
Fever หรือ Pyrexia (ไข้)
Core temp. > 37.5 °C โดยไม่ เกี่ยวข้องกับการทำงานหรือออกกำลังกาย
เกิดจากสารก่อไข้(Pyrogens)
Prostaglandin E2 จาก Bacteria และ Inflammatory process มีผลทำให้ Hypothalamus → ปรับ Set point ของอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
อุณหภูมิกายสูง(Hyperthermia)อุณหภูมิกายอยู่มากกว่า37.5°C
Risingphase ระยะเริ่มไข้ขึ้น(หนาวสั่น,ผิวซีด,เส้นเลือดที่ผิวหนังหดตัว)
Plateau phase ระยะไข้ทรง (ไข้สูง, หน้าแดง, ตัวแดง, ไม่มีเหงื่อ)
Defervescence ระยะสร่างไข้ (เหงื่อออก)
อุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia) อุณหภูมิกายอยู่ต่ำกว่า 35°C
Mild(32-35°C)
Shivering, Cutaneous vasoconstriction
Moderate (28 - 32 °C )
Shivering↓, Metabolism↓, ความดัน↓, การเต้นของหัวใจ↓, หารหายใจ↓, ไม่มีสติ(Unconscious)
Severe (< 28 °C ) หัวใจหยดุ เต้น, เซลล์ตาย
Frostbite ภาวะเนื้อตายจากความเย็นจัด