Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism and Body Temperature - Coggle Diagram
Metabolism and
Body Temperature
สัญญาณชีพ
(Vital signs)
สัญญาณชีพเป็นกลุ่มของอาการแสดงสำคัญที่บ่งบอกถึงสถานะของกระบวนการที่ทำให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ได้ถ้าปกติของสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันไปตามอายุน้ำหนักเพศและสุขภาพโดยรวม
อุณหภูมิกาย (Body temperature)
อุณหภูมิร่างกายหมายถึงระดับความร้อนหรือความเย็นของร่างกายที่วัดข้าวมาได้หรือเป็นความสมดุลย์ระหว่างการผลิตความร้อนและการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
อุณภูมิแกนกลาง (Core temperature) อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.5-37.5C
อุณหภูมิผิว(Shell or Skin temperature) อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.6-37.0C
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิกาย(Factors affecting normal body temperature)
การเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาระหว่างวันหรือนาฬิกาชีวภาพ (Daily cycle : Circadian rhythm)
ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน(Phase of menstrual cycle)
อัตราการเมตาบอลิซึม(Metabolism rate)
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง(Temperature-regulating center)
การสมดุลความร้อน
Heat balancing →Normal body temperature
Heat production = Heat loss
Hyperthermia →High body temperature
Heat production > Heat loss
Hypothermia →Low body temperature
Heat production < Heat loss
การผลิตความร้อนจากภายในร่างกาย
(Internal heat production)
Metabolism rate
Basal metabolism rate
Sex : Male > Female
Age : Children > Elderly
Surface area มาก → BMR มาก
Foodintake : MR↑: SDA มีผลประมาณ 6 ชั่วโมง หลังการรับประทานอาหาร
Activity : Muscle contraction ↑, MR↑ เพื่อเพิ่มการผลิตพลังงาน
Atmospheric temp. : U shape
SDA: Specific dynamic action การย่อย ดูดซึม ขนส่งใช้หรือเก็บสารอาหาร
Emotion : Epinephrine secretion↑, Muscle tone↑
Extra Metabolism
Shivering thermogenesis (Core temp. ≤ 35.5 °C )
อยู่ในที่เย็นจัด→อาการหนาวสั่นจากการหดตัวเป็ นจังหวะถี่ ๆ ของกล้ามเนื้อ
โครงร่าง,อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ→ผลิตความร้อน ↑
Brown adipose tissue(จะถูกสลายมาใช้เวลาหนาว จะไม่เกิดการ shivering)
Blood vessels
Sympathetic nerves : Norepinephrine (NE), Epinephrine (E)
Mitochondria
Hormones
ฮอร์โมน Catecholamine (NE, E) ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะสั้น
ฮอร์โมน Thyroxine ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะยาว 1-3 สัปดาห์
สิ่งแวดล้อมภายนอก
(External environment)
Heat transfer: Thermal gradient (Temp.สูง→ตา)
การไหลเวียนเลือดใต้ผิวหนัง (Cutaneous blood circulation)
กลไกการน าความร้อนออกจากร่างกาย (Mechanisms of heat transfer)
Evaporation การระเหย 22 %
Radiation การแผ่รังสี 60 %
Convection การพาความร้อน 15 %
Conduction การน าความร้อน 18 %
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย(Thermoregulatory system)
สิ่งเร้า (Stimuli)ความร้อน/ความเย็นจากภายนอกภายในร่างกาย
ตัวรับอุณหภูมิ(Thermoreceptors)
Peripheral or Cutaneous
Cold thermoreceptors; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่12– 32°C ผ่านAδ small myelinated fiber
Warmth thermoreceptors ; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่30 – 34 °C ผ่านC unmyelinated fiber
• Central or Core (สมอง)
Cold-sensitive neurons; อุณหภูมิโดยรอบที่เย็น
Heat-sensitive neurons; อุณหภูมิโดยรอบที่ร้อน
• Deep body temp. receptors
Spinal cord, Abdominal viscera, Around the Great vein
Expose to the body core temp.
การควบคุมอุณภูมิร่างกาย(Thermoregulatory system)
หน่วยปฏิบัติการที่ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย(Thermo-regulatory effectors)
การไหลเวียนเลือดใต้ผิวหนัง(Cutaneous bloodvessels)
Autonomic nerve
กล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscle)
Somaticnerve
ต่อมเหงื่อ(Sweat gland)
. Hormone
ต่อมไร้ท่อ(Endocrine gland)
: ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland), ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
Behavior
หน่วยปฏิบัติการตอบสนองต่อความร้อน (Response to Heat)
Heat loss ↑
Cutaneous vasodilation
Sweating ↑
Change position and Clothing
Air current ↑
Respiration ↑
Heat production ↓
Anorexiaลดความอยากอาหาร
Apathy เฉื่อยชา, เคลื่อนไหวลดลง
Thyroidsecretion ↓
หน่วยปฏิบัติการตอบสนองต่อความเย็น (Response to Cold)
Heat loss ↓
Cutaneous vasoconstriction
Piloerection ขนลุก
Curling up ขดตัว
Heat production ↑
Shivering thermogenesis
(Core temp. ≤ 35.5 °C)
Voluntary activity ↑
NE, E, Thyroxine secretion
Hungerอยากอาหาร
ความผิกปกติของการควบคุมอุณภูมิร่างกาย(Abnormalities of body temperature regulation)
อุณหภูมิกายสูง(Hyperthermia) อุณหภูมิกายอยู่มากกว่า 37.5 °C
Heat syncope (ลมแดด)
Heat exhaustion (การอ่อนเพลียจากความร้อนจากสุูญเสียน้ำจำนวนมาก)
Heat stroke (อุณหภูมิกายสูงมากกว่า40.5 °C
Fever หรือ Pyrexia (ไข้)
Core temp..>37.5 °Cโดยไม่
เกี่ยวข้องกับการทำงานหรือออกกำลังกาย
เกิดจากสารก่อไข้ (Pyrogens)
Prostaglandin E2จาก BacteriaและInflammatory processมีผลท าให้Hypothalamus →ปรับ Set point ของอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
Rising phase ระยะเริ่มไข้ขึ้น (หนาวสั่น, ผิวซีด, เส้นเลือดที่ผิวหนังหดตัว)
Plateau phase ระยะไข้ทรง(ไข้สูง, หน้าแดง, ตัวแดง, ไม่มีเหงื่อ)
Defervescence ระยะสร่างไข้ (เหงื่อออก)
อุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia) อุณหภูมิกายต่ำกว่า35 °C
Mild (32 -35 °C )
Shivering, Cutaneous vasoconstriction
Moderate (28 -32 °C )Shivering↓,, Metabolism↓, ความดัน↓,การเต้นของหัวใจ↓,หารหายใจ↓, ไม่มีสติ(Unconscious)
Severe (< 28 °C ) หัวใจหยุดเต้น, เซลล์ตาย
Frostbite ภาวะเนื้อตายจากความเย็นจัด