Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses
ระบบประสาทสัมผัส
(Sensory system)
General features of Sensory systems
Topographic organization
Receptors: Types, Receptors field, Coding, Adaptation
Pathways
Somatosensory systems and pain
Touch, Proprioceptive sensation
Thermal sensation, Pain sensation
Special sensory system
Vision
Audition and Balancing
Taste
Olfaction
การรับรู้ทางประสาทสัมผัส(Sensory perception)
Transduction: แปลสัญญาณ
Transmission: ส่งสัญญาณ
Modulation: แปลงสัญญาณ
Perception: การรับรู้
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส(Typeof sensation)
• Superficial sensation : ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว
• Deep sensation :ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก
• Visceral sensations : ประสาทสัมผัสกากรรับรู้ที่เกี่ยวกับช่องท้อง
• Special senses : ประสาทสัมผัสการรับรู้
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น(Characteristic of Stimulus)
• Modality : ประเภท (Mechanical, Chemical, Photo, Thermal stimuli)
• Intensity : ความแรง (Sensory threshold frequency code)
• Duration : ระยะเวลา (Receptor adaptation)
• Location : ตำแหน่ง (Topographic organization)
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก(Common characteristics of receptor)
Threshold:ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Receptive fields : ตัวรับหนึ่งๆจะตอบสนองแรงที่กระทำบนพื้นผิว เฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Two-point discrimination threshold :ระยะห่างของจุดประตุ้นที่น้อยที่สุด ที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น 2ตำแหน่ง ใช้สำหรับวัดระยะห่างของ Receptive fields
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก(Classification of sensory receptors)
1.แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
• Free nerve endings(ปลายเปลือย) Pain, Thermal
• Encapsulated nerve endings(ปลายเป็
นกระเปาะแคปซูล)
• Sensory cells (เซลล์เฉพาะ)
Peripheral cells
(เซลล์ประสาทส่วนปลาย)
2.แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือหน้าที่
• Exteroceptor :สิ่งเร้าที่อยู่ภายนอก เช่นความร้อนเย็น
• Visceroceptor :สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
• Telereceptor :สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ ได่แก่ กลิ่น แสง เสียง
• Proprioceptor :ตำแหน่งของร่างกาย รู้สึกในขณะที่มีการเคลื่อนไหว(กล้ามเนื้อ, เอ็น, ข้อต่อ)
3.แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
• Mechanoreceptor : พลังงานกล (Tactile, Stretch receptor,Skeletal muscle, Tendons, Ligaments,
Joint capsules, Sound)
• Thermoreceptor : อุณหภูมิ
(Cold, Warm receptor)
• Chemoreceptor : เคมี (Taste buds, Olfactory receptors)
Photoreceptor : แสง (Retina : Rod, Cone cells)
• Nociceptor :ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย เช่น ความเจ็บปวด
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย(Somatosensory system)
Posterior (Dorsal) columnsสัมผัสแบบละเอียด
Spinocerebellar tracts
สัมผัสจากกล้ามเนื้อ, กระดูก,
ข้อต่อ
Spinothalamic tracts
สัมผัสความเจ็บปวดและ
อุณหภูมิ
Nerve fibers and Pain
• Fast pain (เจ็บ) หรือ First pain
• Slow pain (ปวด) หรือ Second pain
Sites of Pain origin
• Somatic pain อาการปวดที่มาจากผิวหนัง กระดูก กล้ามเนื้อ เอ็นข้อต่อ
• Visceral painเป็น อาการปวดที่มาจากอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ ปอด ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ์
• Neuropathic pain เป็ นอาการปวดที่มาจากโรค
ปลายประสาทเสื่อม
Referred pain
อาการปวดต่างที่ เป็นความเจ็บปวดต่างที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อความเจ็บปวดเช่น
อาการปวดเค้นหัวใจ (angina pectoris)
ตัวรับรู้สัมผัส (Tactile mechanoreceptor)
• Free nerve ending:อยู่ที่ผิวหนัง รับการสัมผัส
• Merkel’sdisks:อยู่บริเวรปลายนิ้วมือ
• Ruffini ending: อยู่ลึกในผิวหนังและกดข้อต่อแรงๆ
ตัวรับรู้อุณหภูมิ(Thermoreceptor)
• Krause’s corpuscle (end bulb):
Coldreceptor ตอบสนองต่ออุณหูมิต่ำ
• Free nerve ending: Cold-Warm receptor ตอบสนองต่ออุณภูมิ เย็น อุ่น และร้อน
(The components of special sensory)องค์ประกอบของการรับความรู้สึกพิเศษ
ตัวรับความรู้สึก(Sensory receptor)และเซลล์รับความรู้สึกตัวที่1 First order neuron
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
เซลล์ประสาทที่ 2 และ 3 (Second/Third order neurons)
เปลือกสมองรับความรู้สึกส่วนปฐมภูมิ(Primary sensory cortex)
การมองเห็น
(Vision)
Visual association
cortex(Secondary visual area)
Primary visual
cortexเพื่อทeหน้าที่รับภาพที่
มองเห็นเป็นภาพจริงหัวตั้ง
Retina เป็นส่วนของเซลล์รับแสง
Fovea เป็นจุดเล็กๆบนเรตินา ซึ่งเป็นจุดที่มองเห็นชัดที่สุด
Rods (เซลล์รับแสง)
Cones (เซลล์รับสี)
การได้ยิน
(Hearing)
หูชั้นนอกใบหู (Pinna) →ช่องหู(Auditory canal)→แก้วหูหรือเยื้อแก้วหู(Ear drum)
หูชั้นกลาง ท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) →กระดูกค้อน (Malleus) → กระดูกทั่ง (Incus)→ กระดูกโกลน (Stapes)
หูชั้นใน คอเคลีย (Cochlea) →(Semicircular canal)
เซลล์ขน (Hair Cells)
แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth)อวัยวะรับกำรทรงตัว
หินปูน (Otolith) เกาะอยู่ระหว่างคอเคลียกับประสาทการทรงตัว
การทรงตัว
(Balance)
องค์ประกอบการควบคุมรักษาสมดุลการทรงตัวและเคลื่อนไหว
Vestibular apparatus (หู)
Eyes (ตา)
Posterior columnof spinal cord
(ไขสันหลัง)
Cerebellum (สมองซีรีเบลลัม)
การรับรส
(Taste)
Tongue, Papillae, and Taste bud
Insular cortex ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับรส
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับรสคือ Limbic system
การได้กลิ่น
(Smell)
Olfactory epithelium บริเวณโพรงจมูกส่วนบนเกี่ยวกับการได้กลิ่น
Olfactory receptors คือฐานรับกลิ่นที่มีลักษณะเป็ น
เนื้อผิว เรียกว่า Olfactory epithelium
ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด คือ Olfactory receptor cells,
Supporting epithelial (sustentacular) cells และ Basal cells
ทำหน้าที่แสดงความรู้สึกเมื่อมีการได้รับกลิ่น Amygdala