Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism and Body Temperature - Coggle Diagram
Metabolism and
Body Temperature
Vital signs
สัญญาณชีพเป็นกลุ่มของอาการแสดงสำคัญที่บ่งบอกถึงสถานะของกระบวนการที่ทำให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ได้ ค่าปกติของสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันไปตามอายุ น้ำหนัก เพศและสุขภาพโดยรวม
Factors affecting normal body temperature
การเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาระหว่างวันหรือนาฬิกาชีวภาพ (Circadian rhythm)
ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน (Phase of menstrual cycle)
อัตราการเมตาบออลิซึม (Metabolism rate)
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง(Temperature-regulatingcenter)
Body temperature
อุณหภูมิร่างกาย หมายถึง ระดับความร้อนหรือความเย็นของร่างกายท่ีวัดค่าออกมาได้หรือเป็นความสมดุล ระหว่างการผลิตความร้อน
ช่วงอุณหภูมิกายปกติของแต่ละช่วงอายุที่วัดโดยการใช้ ปรอทวัดไข้
ORAL : ค่าที่วัดได้จะต้อง + 0.5 °C (1 - 2 °F) vs Rectal tem
EAR : ค่าที่วัดได้จะต้อง + 0.5 °C (1 - 2 °F) vs Rectal temp
RECTAL : ค่าที่วัดมีความแน่นอนและแม่นยำมากที่สุด จึงให้เป็นค่าในการอ้างอิง
AXILLARY : ค่าที่วัดได้จะต้อง + 1 °C (2 - 4 °F) vs Rectal temp
อุณหภูมิร่างกายปกติมีความผันแปรไม่เกิน 1°Cยกเว้นมีไข้หรือออกกำลังกายหนักๆ
ปัจจัยที่มีผลต่อการผันแปรของอุณหภูมิกายปกติ
การเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาระหว่างวันหรือนาฬิกาชีวภาพ ( Circadian rhythm)
ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน (Phase of menstrual cycle)
อัตราการเมตาบอลิซึม
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง(Temperature-regulatingcenter)
Heat balancing
Heat balancing → Normal body temperature
Heat production = Heat loss
Hyperthermia → High body temperatureHeat production > Heat loss
Hypothermia → Low body temperatureHeat production < Heat loss
Internal heat production
Metabolism rate
Basal metabolism rate
Age : Children > Elderly
Sex : Male > Female
Surface area มาก → BMR มาก
Activity : Muscle contraction ↑, MR↑ เพื่อเพิ่มการผลิตพลังงาน
Emotion : Epinephrine secretion↑, Muscle tone↑
Food intake : MR↑: SDA มีผลประมาณ 6 ชั่วโมง หลัง การรับประทานอาหาร
Atmospheric temp. : U shape
SDA:Specificdynamicactionการย่อยดูดซึมขนส่งใช้หรือเก็บสารอาหาร
Extra Metabolism
Shivering thermogenesis (Core temp. ≤ 35.5 °C )
อยู่ในที่เย็นจัด อาการหนาวสั่นจากการหดตัวเป็นจังหวะถี่ๆของกล้ามเนื้อ โครงร่าง,อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ ผลิตความร้อน
Brown adipose tissue (จะถูกสลายมาใช้เวลาหนาว จะไม่เกิดการ Shivering)
Blood vessels
Sympathetic nerves : Norepinephrine (NE), Epinephrine (E) Mitochondria
Hormones
ฮอร์โมน Catecholamine (NE, E) ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะส้ัน
ฮอร์โมน Thyroxine ถูกนามาใช้เพื่อตอบสนองในระยะยาว 1-3 สัปดาห
Thermoregulatory system
สิ่งเร้า (Stimuli) ความร้อน/ความเย็นจากภายนอกภายในร่างกาย
ตัวรับอุณหภูมิ (Thermoreceptors)
Peripheral or Cutaneous
Central or Core (สมอง)
Deep body temp. receptors
หน่วยปฏิบัติการทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย(Thermo-regulatoryeffectors)
การไหลเวียนเลือดใต้ผิวหนัง
กล้ามเนื้อลาย
ต่อมเหงื่อ
ต่อมไร้ท่อ,ต่อมไทรอยด์,ต่อมหมวกไต
External environment
Heatlossfrominternalorgans
(การระบายความร้อนจากอวัยวะภายใน)
Major sit of heat production → Rest of the bodyCore→Skin
Conduction การนำความร้อนจากอวัยวะหนึ่งไปยังอวัยวะหนึ่ง
Convection การพาความร้อนไปกับเลือด
กลไกการนำความร้อนออกจากร่างกาย
การแผ่รังสี60%
2.การระเหย22%
การพาความร้อน15%
การนำความร้อน18%
Abnormalities of body temperature regulation
อุณหภูมิกายสูง อุณหภูมิกายอยู่มากกว่า 37.5 °C
ลมแดด
การอ่อนเพลียจากความร้อนจากการสูญเสียน้ำจำนวนมาก พบในคนที่อยู่ในที่ร้อน ออกกำลังกาย รุนแรงหรือนานในที่อากาศร้อนชื้น
เกี่ยวข้องกับการทำงานหรือออกกำลังกาย
Rising phase ระยะเริ่มไข้ขึ้น หนาวสั่น,ผิวซีด,เส้นเลือดที่ผิวหนังหดตัว
Plateau phase ระยะไข้ทรง ไข้สูง,หน้าแดง,ตัวแดง,ไม่มีเหงื่อ
Defervescence ระยะสร่างไข้ เหงื่อออก