Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
Superficial sensation : ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว (รับรู้ผ่านทางผิวหนัง)
Deep sensation : ประลาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก (รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ)
Visceral sensations : ประลาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Special senses : ประสาทสัมผัสการรับรู้
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น
Modality : ประเภท (Mechanical, Chemical, Photo, Thermal stimuli)
Intensity : ความแรง (Sensory threshold frequency code)
Duration : ระยะเวลา (Receptor adaptation)
Location : ตำแหน่ง (Topographic organization)
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทาให้เกิดความรู้สึก
เหตุการณ์ Action potential จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการรวมตัวกันของ Graded potential (EPSP และ IPSP)
เท่ากับหรือมากกว่าระดับ Threshold ขึ้นไป
Adaptation : . Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Tonic receptors (Slowly adapting receptors)ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นตลอดเวลาที่สิ่งกระตุ้นยังคงอยู่ เช่น ตัวรับความรู้สึกบริเวณหูที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว
Phasic receptors (Rapidly adapting receptors)ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นเฉพาะในช่วงแรกและช่วงสุดท้ายของการกระตุ้น เช่น ตัวรับความรู้สึกบริเวณผิวหนัง
Receptive fields : ตัวรับหนึ่ง ๆ จะดอบสนองต่อแรงที่กระทำบนพื้นผิวเฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Two-point discrimination threshold : ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยที่สุด ที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น 2 ตำแหน่งใช้สำหรับวัดระยะห่างของ Receptive fields
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก
1) แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
Free nerve endings
(ปลายเปลือย) Pain, Thermal etc.
Encapsulated nerve endings(ปลายเป็นกระเปาะแคปซูล)Corpuscle of Touch
Sensory cells (เซลล์เฉพาะ)
Receptor cell in Eye, Ear, Tongue
Peripheral cells
(เซลล์ประสาทส่วนปลาย)
2) แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
Exteroceptor : ซึ่งเร้าอยู่กายนอก เช่น ความร้อนเย็น, สัมผัสเจ็บปวด
Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะกายใน
Telereceptor : ซึ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ ได้แก่ กลิ่น แฮง เถียง
Proprioceptor : ตำแหน่งของร่างกาย ความรู้สึกในขมะที่มีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ, เอ็น, ข้อต่อ)
3) แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
Mechanoreceptor : พลังงานกล (Tactile, Stretch receptor, Skeletal muscle, Tendons, Ligaments,Joint capsules, Sound)
Thermoreceptor : อุณหภูมิ (Cold, Warm receptor)
Chemoreceptor : เคมี (Taste buds, Olfactory receptors)
Photoreceptor : แสง (Retina : Rod. Cone cells)
Nociceptor : ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย เช่น ความเจ็บปวด
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย
Posterior Dorsal columns
สัมผัสแบบละเอียด
Brodmann area: 3. 1. 2 ทำหนัาที่ในการรับความรู้สึกจากผิวหนัง, กล้ามเกื้อ. และข้อต่อ
3rd order neuron: Thalamus
2ud order beuron: Vucleus gracilis. Nucleus cuneatus
1st order neuron: Dorsal root ganglion (DRG)
Spinocerebellar tracts
สมผัสจากกล้ามเนื้อ, กระดูก,ข้อต่อ ส่งไปประมวลที่สมอง มีความสำคัญเกี่ยวกับการทรงตัว
Anterior spinocerebellar tracts(Do cross; มีการไขว้) Posterior spinocerebellar tracts(Do not cross; มีไม่การไขว้
ตัวรับรู้สัมผัส (Tactile mechanoreceptor)
Slowly adapting mechanoreceptor ปรับตัวช้า
F'ree nerve ending: อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
Merkel's disks:อยู่บริเวณปลายนิ้วมือมี receptive field แคบรับสัมผัสที่ละเอียดอ่อน
Ruffini ending:อยู่ลึกในผิวหนังและข้อต่อกดแรงๆ
Rapidly adapting mechanorcceptor อยู่บริเวณต้องรับการกระตุ้นที่ไวมาก สามารถ
บอกตำแหน่ง และรายละเอียดสิ่งกระตุ้นได้ดี
Meissner's corpuscle: พบบริเวณนิ้วมือฝ่ามือ ริมฝีปาก หัวนมรับการกระตุ้นแบบสัมผัสละเอียด
Pacinian corpuscle:อยู่บริเวณผิวหนัง รับแรงกดและสั่นสะเทือน พบที่หัวนมและอวัยวะเพศ
ตัวรับรู้อุณหภูมิ (Thermorcceptor)
Krause's corpuscle (end bulb):
Cold receptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิต่ำ
Free nerve ending: Cold-Warm receptor ตอบสนองต่ออุณหกูมิเย็น อุ่น และร้อน
Spinothalamic tracts สัมผัสความเจ็บปวดและอุณหภูมิ
•Anterior spinothalamic tract : สัมผัสแบบหยาบ (Crude touch)
• Lateral spinothalamic traet ความเจ็บปวดและอุณหภูมิ(Pain and Temperature)
C-Fiber และ A-beta Fiber ยับยั้งการส่งสัญญาณเจ็บปวด
A-delta Fiber ส่งสัญญาณเจ็บปวด
Nerve fibers and Pain
Fast pain (เจ็บ) หรือ First pain เหนี่ยวนำบน A-delta fiber บอกตำแหน่งได้ เช่น Pricking pain, Sharp pain, Electric pain
slow pain (ปวด) หรือ Second pain เกิดช้า ๆ อยู่นาน บอกตำแหน่งแน่นอนไม่ได้ เหนี่ยวนำบน C-tber บอกตำแหน่งได้เช่น Dull, Burning, Throbbing, Itching pain
Sites of Pain origin
Somatic pain เป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนัง,กระดูก, กล้ามเนื้อ, เอ็นข้อต่อ เป็นต้น
Neuropathic pain เป็นอาการปวดที่มาจากโรคปลายประสาทเสื่อม
Visceral pain เป็นอาการปวดที่มาจากอวัยวะภายในเช่น หัวใจ, ปอด, ระบบทางเดินอาหาร และระบบสืบพันธ์
Referred pain อาการปวดต่างที่ เป็นความเจ็บปวดต่างที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งร้าชนก่อความเจ็บปวด
องค์ประกอบของการรับความรู้สึกพิเศษ
ตัวรับความรู้สึก (Sensory receptor)
และเซลล์รับความรู้สึกตัวที่ 1
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
เชลล์ประสาทที่ 2 และ 3
(Second/Third order neurons)
4.เปลือกสมองรับความรู้สึกส่วนปฐมภูมิ
(Primary sensory cortex)
การมองเห็น (Vision)
Visual association cortex (Secondary visual area)เพื่อแปลความหมายจากภาพ
Primary visual cortexเพื่อทำหน้าที่รับภาพที่มองเห็นเป็นภาพจริงหัวตั้ง
Retina เป็นส่วนของเซลล์รับแสง
Fovea เป็นจุดเล็กๆบนเรตินา ซึ่งเป็นจุดที่มองชัดที่สุด
Rods (เซลล์รับแสง) ที่มีลักษณะเป็นแท่งยาวๆไวแสงมาก กระจายอยู่บริเวณรอบนอก Foveaมีจำนวนประมาณ 100 ล้านอัน rodsจำนวนหลายพันตัวถูกต่ออยู่กับเส้นประสาท 1 เส้นจึงทำให้ความคมชัดของการมองเห็นต่ำมาก จะไม่ปรากฎสีต่างๆ ในระบบของ rods: จะเห็นเป็นเพียงขาว-ดำเท่านั้น
Coues (เซลล์รับสี) ซึ่งจะเริ่มทำงานเมื่อได้รับแสงการมองเห็นสีต่างๆขึ้นอยู่กับการทำงานของComes ถ้า Conesทั้ง 3 กลุ่มทำงานพร้อมกันเท่าๆกันจะมองเห็นเป็นแสงสีขาวหรือไม่มีสี ถ้าCones ตัวใดตัวหนึ่งเสียไปจะทำให้เกิดตาบอดสีรายละเอียดของวัตถุได้ชัคเจน
จากการทำงานของ Comes และ Rods ก็พอจะแบ่งระดับการมองเห็นออกเป็น 3 ระดับคือ
Scotopie V'ialon เป็นช่วงที่ Rodะ 1ฐานเพียงอย่างเดียวจะ มองเห็นวัตถุต่าง ๆ เป็นสีขาว-คำเท่านั้น
MLeropic Vision เป็นช่วงที่ Rod: และ Coue ทำงานร่วมกันทำให้มองเห็นวัดถุเป็นสีปนขาว-คำ แต่ไม่สามารถระบุให้แน่ชัดได้ว่าเป็นสีใด
Photopic Vizion เป็นช่วงที่ Coบes ทำงานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัดถุต่าง ฯ เป็นสี่ถูกต้องและบอก
การได้ยิน(Hearing)
หูมีรูปร่างคล้ายใบพัด มีขนาดไม่ใหญ่มาก ตั้งอยู่ขนาบสองข้างของใบหน้าทำหน้ที่หลักในการได้ยินและเกี่ยวข้องกับการทรงตัว
หูชั้นนอก ใบหู (Pina) -7 ช่องหู (Auditory cana)- แก้วหู หรือ เยื่อแก้วหู (Ear drum)
หูชั่นกลาง ท่อยู่สเตเขียน (Eustachian tibe) -- กระดูกก้อน (Malleu:) > กระดูกทั่ง (โacu.) > กระดูกโกลน (Stapes)
หูชั่นใน คอเคลีย(Cochlea) -ㆍ ช่องเซมิเซอร์คิวลาร์ (Semicicular caaal)
เชลล์ขน (Hair Cell) เป็นตัวรับกระตุ้นของเสียง ไดนเซลล์ขนที่ฐานคอเคลียทำหน้าที่รับเสียงสูงและปลายท่อทำหน้าที่รับเสียงทุ้ม
แลบบิรินท์ (Vestibular abyriatb) อวัยวะรับการทรงตัว
หินปูน (Otolid) เกาะอยู่ระหว่างคอเคลียกับประสาทการ ทรงตัว เพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวศีรษะตามแรงโน้
การทรงตัว(Balance)
การควบคุมรักษาสมดุลการทรงตัวและเคลื่อนไหว ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ดังนี้
Vestibular apparatus (หู)
Eyes (ตา)
Posterior column of spinal cord(ไขสันหลัง)
Cerebellum (สมองชีรีเบลลัม)
หูชั้นในที่ช่วยในการทรงตัว(Vestibular apparatus หรือ Semicireular canals)
ทำหน้าที่ควมคุมการทรงตัวหากมีการเคลื่อนไหวของศีรษะอย่างกะทันหัน
หูชั้นใน (The imner ear) มีส่วนอวัยวะรับความรู้สึกของระบบการทรงตัวประกอบด้วย
1.หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน(ความเร่งเชิงมุม)คือหลอดกึ่งวงกลม (Semicircular duets)
2.หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวตามแนว XY(ความเร่งเชิงเด็น) คือSaccile ทำหน้ที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวตั้ง (แกน Y) Utricle ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวราบ (แคน X)
การรับรส(Taste)
Insular cortex ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรส
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับรส คือ Limbic system
การได้กลิ่น(Smell)
อวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือ จมูก (Nose)บริเวณที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นอยู่ที่บริวณโพรงจมูกส่วนบน เรียกว่า Olfactory epithelium
Olfactory receptors คือฐานรับกลิ่นที่มีลักษณะเป็นเนื้อผิว เรียกว่า Olfactory epithelium ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด คือ
Olfactory receptor cells,
Supporting epithelial (sustentacular) cells
Basal cells
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับกลิ่น
Olfactory bulb
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมี
การรับกลิ่น คือ Amygdala