Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบเเนวคิดเชิงคำนวน 10560-7, 10560-1, 10560-5, 10560-10, 10560-11,…
องค์ประกอบเเนวคิดเชิงคำนวน
การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)
กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อย ในปัญหาหรืองานที่กำลังพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นและเพียงพอในการแก้ปัญหา เป็นการแยกรายละเอียดที่สำคัญและจำเป็นต่อการแก้ปัญหาออกจากรายละเอียดที่ไม่จำเป็น ซึ่งรวมไปถึงการแทนกลุ่มของปัญหา ขั้นตอน หรือกระบวนการที่มีรายละเอียดปลีกย่อยหลายขั้นตอนด้วย
EX
การคิดเชิงนามธรรม
การคิดเชิงนามธรรมที่เกี่ยวข้อกับตัวอักษร
การคิดเชิงนามธรรมที่เกี่ยวข้อกับรูปทรง
การคิดเชิงนามธรรมจากเกมเลขฐานสอง
การคัดแยกรายละเอียดปลีกย่อย
การอธิบายปัญหาโดยใช้รายละเอียด และแบบซ่อนรายละเอียด
การออกแบบอัลกอริทึม
(Algorithm)
เป็นการพัฒนากระบวนการหาคำตอบให้เป็นขั้นตอนที่บุคคลหรือคอมพิวเตอร์สามารถนำไปปฏิบัติตามเพื่อแก้ปัญหาได้ อีกทั้ง เป็นการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อดำเนินตามทีละขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา เช่น เมื่อเราต้องการสั่งคอมพิวเตอร์ให้ทำงานบางอย่าง
คุณสมบัติของอัลกอริทึม
มีความถูกต้อง (correctness)
ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด (efficiency)
ต้องมีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน
ใช้เนื้อที่ในหน่วยความจำน้อยที่สุด
มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
ง่ายต่อการทำความเข้าใจ (readability)
การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา
(Decomposition)
การแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนทำได้ยาก การแบ่งปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อย ๆ ทำให้มีความซับซ้อนของปัญหาลดลง ช่วยให้การวิเคราะห์และพิจารณารายละเอียดขอปัญหาทำได้อย่างถี่ถ้วน ส่งผลให้สามารถออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหาย่อยแต่ละปัญหาได้ง่ายขึ้น
Ex.
พัดลม การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย (Decomposition) ของพัดลม
มอเตอร์พร้อมกะโหลกหลังและฐานพัดลม
ตะแกรงหลัง
ใบพัด
ตะแกรงหน้า
การพิจารณารูปแบบ
(Pattern Recognition
) :
เป็นการหารูปแบบซึ่งเป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ ทั่วไปของสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วผู้เรียนจะเริ่มพิจารณาปัญหาหรือสิ่งที่สนใจ จากนั้นอาจใช้ทักษะการแยกส่วนประกอบทำให้ได้องค์ประกอบภายในอื่น ๆ แล้วจึงใช้ทักษะการหารูปแบบเพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้นโดยพิจารณาว่าเคยพบปัญหาลักษณะนี้มาก่อนหรือไม่ หากมีรูปแบบของปัญหาที่คล้ายกันสามารถนำวิธีการแก้ปัญหานั้นมาประยุกต์ใช้ และพิจารณารูปแบบปัญหาย่อยซึ่งอยู่ภายในปัญหาเดียวกันว่ามีส่วนใดที่เหมือนกัน เพื่อใช้วิธีการแก้ปัญหาเดียวกันได้ ทำให้จัดการกับปัญหา
นายศุภวงศ์ คงเเก้ว เลขที่08 ม.4/2
Link Title
https://www.scimath.org/lesson-technology/item/10560-2019-08-28-02-43-20