Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดการพยาบาลชุมชน, นางสาว ญานิตา ประดับบุตร 611181 - Coggle…
บทที่ 1 แนวคิดการพยาบาลชุมชน
วิวัฒนาการด้านการพยาบาลชุมชน
ยุโรป + อเมริกา
ต้นศตวรรษที่ 17 เซนต์ วินเซนต์ เดอปอล
ปรับปรุงคุณภาพโดยจัดให้มีการอบรมอย่างเป็นระบบก่อนให้การพยาบาลตามบ้าน
ศตวรรษที่ 18
พยาบาลที่ดูแลตามบ้านให้บริการด้านการป้องกันโรคโดยการสร้างภูมิคุ้มกันโรคการสุขาภิบาลระยะนี้ผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมระดับวิชาชีพแล้ว
ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล
ปรับปรุงการศึกษาพยาบาลให้เรียนด้านการป้องกันสุขภาพควบคู่กับการรักษาผู้เจ็บป่วยโดยใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์โดยมีแนวคิดว่าสุขภาพของบุคคลมีความสำคัญต่อสุขภาพของชุมชน
มร วิลเลียม แรท
ก่อตั้งบริการพยาบาลตามบ้านที่เรียกว่าDistrict Nurseให้บริการพยาบาลบริการสังคมสงเคราะห์สอนสุขอนามัยส่วนบุคคล การสุขาภิบาลและสอนครอบครัวให้ดูแลผู้ป่วยได้
ลิเลียน วอลด์
เป็นผู้ใช้ชื่อพยาบาลสาธารณสุขสำหรับพยาบาลที่ปฏิบัติงานในชุมชนก่อตั้งHenry Street Settlement
ปีคศ 1912 สหรัฐอเมริกา
ก่อตั้งองค์กรพยาบาลสาธารณสุขแห่งชาติ( National Organization of Public Health Nursing หรือชื่อย่อว่า NOPHN)และสภากาชาด
ไทย
ระยะที่ 2 (2485-2499)
เป็นระยะที่การสาธารณสุขของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็วกระทรวงสาธารณสุขเกิดขึ้นในปี พศ 2485
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้รับความร่วมมือกับ WHO
มีพยาบาลประจำสุขศาลา (สถานีอนามัย) ในชนบท
เขตเมืองมีเทศบาลเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ และมีพยาบาลประจำสุขศาลาของเทศบาลเรียกว่า พยาบาลสาธารณสุข
พยาบาลสาธารณสุขทั่วไป
พยาบาลสาธารณสุขเฉพาะสาขา
ระยะที่ 3 (2500-ปัจจุบัน)
เน้นงานวางแผนอนามัยครอบครัว
เน้นเรื่องการมีส่วนร่วมของชุมชนทำให้การศึกษาการพยาบาลเริ่มเปลี่ยนโครงสร้างหลักสูตรที่เน้นการดแลชุมชนมากขึ้น
หลักสูตรระดับปริญญาตรี โท สาขาการพยาบาลอนามัย ชุมชนและพัฒนามาเป็นการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนเพื่อสอดคล้องกับหลักประกันสุขภาพดีถ้วนหน้าแห่งชาติ
ระยะที่ 1 (2400-2484)
เริ่มการสาธารณสุขและการแพทย์แผนปัจจุบันเนื่องจากมีโรคระบาดเป็นสาเหตุการตายมากคือ อหิวาตกโรค ไข้ทรพิษ กาฬโรค
เน้นการสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ เน้นการพัฒนาด้านการแพทย์
สร้างโรงพยาบาลศิริราชและโรงเรียนแพทย์ , โรงเรียนผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล , โรงเรียนพยาบาลของสภากาชาดไทย , โรงเรียนผดุงครรภ์และอนามัยแมคคอร์มิค
แนวคิดสุขภาพองค์รวมในงานพยาบาลชุมชน
เน้นดูแล “คน” ไม่ใช่ดูแล “โรค”
ไม่มองผู้ใช้บริการเพียงหนึ่งมุมมองแต่จะมองผู้ใช้บริการทุกมิติทุกด้านที่มีผลกระทบต่อสุขภาพการเจ็บป่วย
ดูแลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี เศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อม บุคคล ครอบครัวและชุมชน
สุขภาพองค์รวมในงานพยาบาลชุมชน (Holistic Care Concept in Community Based)
Client-centered care
Family-oriented care
Community oriented care
ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู
Community Health Nursing
ให้บริการดูแลสุขภาพแก่ผู้ใช้บริการ (Client) ทุกระดับตั้งแต่บุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน บริการสุขภาพแบบองค์รวมและ ต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์พึงพิงตนเองได้ มีความสมดุลของกายและใจกับสิ่งแวดล้อม สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างผาสุก
เป้าหมาย
ดูแลสุขภาพและสุขภาวะของประชาชนให้แข็งแรง
การดูแลเป็นความต้องการที่จำเป็นของมนุษย์
คำนึงถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ส่งเสริมการดแลสุขภาพตนเอง
ความหมายการพยาบาลชุมชน :
เน้นชุมชนเป็นฐาน (Community-Based)
เน้นประชากรเป็นฐาน (Population-Based)
ต้องมีความรู้ทักษะและสมรรถนะที่สามารถปฏิบัติการพยาบาลชุมชนให้บรรลุเป้าหมาย
ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นเชื่อมโยงการบริการสุขภาพและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
ต้องมีทักษะด้านการสื่อสารการสอนสุขภาพการจัดการเพื่อการบริการ
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลชุมชน
เป็นผู้บริการด้านสุขภาพ (Health care provider) ให้บริการทั้งผู้ที่เจ็บป่วยและ ไม่เจ็บป่วย แบบครบถ้วนผสมผสาน ทั้งด้านการรักษา การฟื้นฟูสภาพ การป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพ
เป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (Health educator) ให้สุขศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมสุขภาวะของชุมชน
เป็นผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ (Advocator) ให้กับประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิของตนเองในด้านสุขภาพ
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager)
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้วิจัย (Researcher)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent) กระตุ้นหรือทำให้ชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
เป็นผู้นำ (Leader)
เป็นผู้ประสานงาน (Coordinator) ทุกระดับ
เป็นผู้ให้ความร่วมมือ (Collaborator) กับทุกฝ่ายที่จะช่วยกันพัฒนาชุมชน
คุณภาพและมาตรฐานการพยาบาลชุมชน
นำแนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
รวบรวมข้อมูลผู้รับบริการอย่างมีระบบครบถ้วนถูกต้อง
ด้านการวินิจฉัยทางการพยาบาลต้องวิเคราะห์ข้อมูลที่รวมไว้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพของชุมชน ครอบครัว บุคคล
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ
กำหนดเป้าหมายและประเมินผลร่วมกันระหว่างผู้นับบริการและพยาบาล
พัฒนาคุณภาพบุคลากรและบริการเพื่อบริการพยาบาลได้มาตรฐานคุณภาพ
ร่วมงานในระหว่างทีมสุขภาพและบุคลากรอื่นๆในกระบวนการบริการเพื่อสุขภาพชุมชน
ต้องทำการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาความรู้ในการบริการ
สิทธิ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
สิทธิมนุษยชน (Human Right) สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกันมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรองทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้
เป็นระเบียบข้อบังคับที่สมาชิกทุกคนในวิชาชีพต้องนำไปปฏิบัติบางทีเรียกว่า “มรรยาทวิชาชีพ”
รักษาเรื่องส่วนตัวของผู้ป่วยไว้เป็นความลับไม่เปิดเผยให้ผู้อื่น เพราะเป็นเรื่องผู้ป่วยเป็นสิทธิของบุคคล
สมรรถนะการพยาบาลชุมชน
ด้านการทำงานร่วมกับชุมชนการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถปรับตัวเข้าถึงประชาชนกลุ่มต่างๆ
ด้านภาวะผู้นำรับผิดชอบงานดีกล้าตัดสินใจจริงใจในการทำงานมีความคิดสร้างสรรค์ สามารถเจรจาต่อรองยึดถือค่านิยมและสร้างค่านิยมในการดูแลสุขภาพ
ด้านการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพชุมชน สามารถในการวินิจฉัยชุมชนดำเนินการแก้ไขปัญหาชุมชนให้บริการทั้งด้านเชิงรุกเชิงรับครอบคลุมกลุ่มสุขภาพดีดูแลด้านการรักษา การส่งเสริม การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ
ด้านการบริหารจัดการ
ด้านวิชาการและการวิจัยเป็นผู้มีความรอบรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในชุมชนบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆมาใช้ได้อย่างเหมาะสม
ด้านกฎหมาย และจริยธรรม
นางสาว ญานิตา ประดับบุตร 611181