Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses I - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses I
1.ระบบประสาทสัมผัส
(Sensory system)
A. General features of Sensory systems
Topographic organization
Receptors: Types, Receptors field, Coding, Adaptation
Pathways
B. Somatosensory systems and pain
Touch, Proprioceptive sensation
Thermal sensation, Pain sensation
C. Special sensory system
(Structure, Transduction, Pathway)
Vision
Audition and Balancing
Taste
Olfaction
2.การรับรู้ทางประสาทสัมผัส(Sensory perception)
Perception : การรับรู้
Modulation : แปลงสัญญาณ
Transmission : ส่งสัญญาณ
Transduction : แปลสัญญาณ
3.ชนิดการรับรู็ทางประสาทสัมผัส(Cype of sensation)
Superficial sensation : ประสาทสัมผสั การรับรู้แบบพื้นผิว (รับรู้ผ่านทางผิวหนัง) • Deep sensation : ประสาทสัมผสั การรับรู้แบบลกึ (รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ) -Visceral sensation:ประสาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง• Special senses : ประสาทสัมผสั การรับรู้
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น(Characteristic of Stimulus)
• Modality : ประเภท (Mechanical, Chemical, Photo, Thermal stimuli)
• Intensity : ความแรง (Sensory threshold frequency code)
• Duration : ระยะเวลา (Receptor adaptation)
• Location : ต าแหน่ง (Topographic organization
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก(common characteristics of receptor1. Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นทนี่ ้อยทสี่ ุดทที่ าให้เกดิ ความรู้สึก)2. Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก3.Receptive fields:ตัวรับหนึ่งๆ จะตอบสนองต่อเเรงพื้นที่ผิวเฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึก 4.Two-point discrimination thresholdระยะห่างของจุดที่มีค่าน้อยที่สุดที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น2ตำเเหน่งใช้สำหรับวัดระยะห่างReceptivefields
การเเบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก(Classification of sensory receptors)1) แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวภิ าคศาสตร์• Free nerve endings
(ปลายเปลือย) Pain, Thermal etc.• Encapsulated nerve endings
(ปลายเป็นกระเปาะแคปซูล)• Sensory cells (เซลล์เฉพาะ)
Receptor cell in Eye, Ear, Tongue• Peripheral cells
(เซลล์ประสาทส่วนปลาย)2.• Exteroceptor : สิ่งเร้าอยู่ภายนอก เช่น ความร้อน/เย็น, สัมผัสเจ็บปวด• Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่มาจากอวยั วะภายใน• Telereceptor : สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ ได้แก่ กลิ่น แสง เสียง• Proprioceptor : ตาแหน่งของร่างกาย ความรู้สึกในขณะที่มีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ, เอ็น, ข้อต่อ)3.3) แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น• Mechanoreceptor : พลังงานกล (Tactile, Stretch receptor, Skeletal muscle, Tendons, Ligaments,
Joint capsules, Sound)• Thermoreceptor : อุณหภูมิ (Cold, Warm receptor)• Chemoreceptor : เคมี (Taste buds, Olfactory receptors)
• Photoreceptor : แสง (Retina : Rod, Cone cells)• Nociceptor : ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็ นอนั ตราย เช่น ความเจ็บปวด
(Somatosensory system)ระบบประสาทรับความรู้สึกกายSpinothalamic tracts• Anterior spinothalamic tract :สัมผัสแบบหยาบ (Crude touch• Lateral spinothalamic tractความเจ็บปวดเเละอุณหภูมิ(Pain and Temperature)
Nerve fibers and Pain• Fast pain (เจ็บ) หรือ First pain เหนี่ยวน าบน A-delta fiber บอก
ตาแหน่งได้ เช่น Pricking pain, Sharp pain, Electric pain• Slow pain (ปวด) หรือ Second pain เกิดช้าๆหรืออยู่นานบอกตำเเหน่งแน่นอนไม่ได้ เหนี่ยวนาบน C-fiber บอกตาแหน่งได้
เช่น Dull, Burning, Throbbing, Itching pain
Referred painอาการปวดต่างที่ เป็ นความเจ็บปวดต่างที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อความเจ็บปวด เช่นอาการปวดเค้นหัวใจ (angina pectoris) ซึ่งเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (หัวใจวาย)
Rapidly adapting mechanoreceptorอยู่บริเวณต้องรับการกระตุ้นที่ไวมาก สามารถบอกตาแหน่ง เเละลายละเอียด เเละสิ่งกระตุ้นได้ดี
Spinocerebellar tracts การรับรู้ความรู้สึกจากกล้ามเนื้อลายเอ็นเเละข้อต่อที่ส่งไปประมวลผลที่สมองมีความสำคัญเกี่ยวกับการทรงตัว
• Anterior spinocerebellar tracts
(Do cross; มีการไขว้)
• Posterior spinocerebellar tracts
(Do not cross; มีไม่การไขว้)