Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses
การรับรู้ทางประสาทสัมผัส (Sensory perception)
Transduction : แปลสัญญาณ >> Transmission : ส่งสัญญาณ >> Modulation : แปลงสัญญาณ >> Perception : การรับรู้
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น
(Characteristic of Stimulus)
Intensity
ความแรง (Sensory threshold frequency code)
Location
ตำแหน่ง (Topographic organization)
Duration
ระยะเวลา (Receptor adaptation)
Modality
ประเภท (Mechanical, Chemical, Photo, Thermal stimuli)
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
(Type of sensation)
Deep sensation
ประสาทสัมผัส การรับรู้แบบลึก (รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ) Muscle and Joint position sense, Deep muscle pain, Vibration sense
Visceral sensations
ประสาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง Relayed by Autonomic afferent fibers; Hunger, Nausea, Visceral pain
Superficialsensation
ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว(รับรู้ผ่านทางผิวหนัง) Temperature and Two-point discrimination
Special senses
ประสาทสัมผสั การรับรู้
Smell, Vision, Hearing, Taste, Equilibrium
ระบบประสาทสัมผัส (Sensory system)
B. Somatosensorysystemsandpain
Touch,Proprioceptivesensation
Thermalsensation,Painsensation
C. Special sensory system
(Structure, Transduction, Pathway)
Vision
AuditionandBalancing
Taste
Olfaction
A. General features of Sensory systems
Receptors: Types, Receptors field, Coding, Adaptation
Pathways
Topographicorganization
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย (Somatosensory system)
Brodmann area: 3, 1, 2
ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจาก ผิวหนัง, กล้ามเนื้อ, และข้อต่อ
Primary sensory cortex Brodmann area: 3, 1, 2 ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจากผิวหนัง, กล้ามเนื้อ, และข้อต่อ
Spinothalamic tracts สัมผัสความเจ็บปวดและ อุณหภูมิ
Spinothalamic tracts
• Anteriorspinothalamictract: สัมผัสแบบหยาบ (Crude touch)
• Lateralspinothalamictract ความเจ็บปวดและอุณหภูมิ (Pain and Temperature)
Spinocerebellar tracts สัมผสั จากกล้ามเนื้อ, กระดูก, ข้อต่อ
Nerve fibers and Pain
• Fast pain (เจ็บ) หรือ First pain เหนี่ยวนำบน A-delta fiber บอกตำแหน่งได้ เช่น Pricking pain, Sharp pain, Electric pain
• Slowpain(ปวด)หรือ Secondpain เกิดช้าๆอยู่นานบอกตำแหน่งแน่นอนไม่ได้เหนี่ยวนำบน C-fiber บอกตำแหน่งได้ เช่น Dull, Burning, Throbbing, Itching pain
Posterior (Dorsal) columns สัมผัสแบบละเอียด
Sites of Pain origin
• Somaticpain เป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนัง, กระดูก, กล้ามเน้ือ, เอ็นข้อต่อเป็นต้น
• Neuropathicpain เป็นอาการปวดที่มาจากโรค ปลายประสาทเสื่อม
• Visceralpain เป็นอาการปวดที่มาจากอวัยวะภายใน เช่น หัว ใจ, ปอด, ระบบทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุ์
Spinocerebellar tracts
การรับรู้ความรู้สึกจากกล้ามเนื้อลาย เอ็น และข้อต่อเพื่อส่งไปประมวลผลที่สมองมีความสำคัญเกี่ยวกับการทรงตัว
• Anterior spinocerebellar tracts (Do cross; มีการไขว้)
• Posterior spinocerebellar tracts (Donotcross; ไม่มีการไขว้)
ตัวรับรู้สัมผัส (Tactile mechanoreceptor)
Slowly adapting mechanoreceptor ปรับตัวช้า
• Free nerve ending: อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
• Merkel’s disks: อยู่บริเวณปลายนิ้วมือ มี receptive field แคบรับสัมผัสที่ละเอียดอ่อน
• Ruffini ending: อยู่ลึกในผิวหนังและข้อต่อกดแรงๆ
Rapidly adapting mechanoreceptor อยู่บริเวณต้องรับการกระตุ้นที่ไวมากสามารถบอกตำแหน่ง และรายละเอียดสิ่งกระตุ้นได้ดี
• Meissner’s corpuscle: พบบริเวณนิ้วมือ
ฝ่ามือ ริมฝี ปาก หัวนม รับการกระตุ้นแบบสัมผัสละเอียด
• Pacinian corpuscle: อยู่บริเวณผิวหนัง รับแรงกดและสั่นสะเทือน พบที่หัวนม และอวัยวะเพศ
ตัวรับรู้อุณหภูมิ(Thermoreceptor)
• Krause’s corpuscle (end bulb):Coldreceptor ตอบสนองต่ออุณหภูมต่ำ
• Free nerve ending: Cold-Warm receptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิเย็น อุ่น และร้อน
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก (Classification of sensory receptors)
2) แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
• Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
•Telereceptor : สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับได้แก่กลิ่นแสงเสียง
• Exteroceptor : สิ่งเร้าอยู่ภายนอกเช่นความร้อน/เย็น สัมผัสเจ็บปวด
• Proprioceptor : ตำแหน่งของร่างกายความรู้สึกในขณะท่ีมีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ, เอ็น, ข้อต่อ)
3) แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
• Chemoreceptor : เคมี (Tastebuds,Olfactoryreceptors)
• Photoreceptor : แสง (Retina:Rod,Conecells)
• Thermoreceptor : อุณหภูมิ (Cold,Warmreceptor)
• Nociceptor : ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย เช่น ความเจ็บปวด
• Mechanoreceptor : พลังงานกล (Tactile,Stretchreceptor,Skeletalmuscle,Tendons,Ligaments, Joint capsules, Sound)
1)แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
• Encapsulatednerveendings (ปลายเป็ นกระเปาะแคปซูล) Corpuscle of Touch
• Sensory cells (เซลล์เฉพาะ) Receptor cell in Eye, Ear, Tongue
• Freenerveendings (ปลายเปลือย) Pain, Thermal etc.
• Peripheralcells (เซลล์ประสาทส่วนปลาย)
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก (Common characteristics of receptor)
Adaptation
การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Receptive fields
ตัวรับหนึ่ง ๆ จะตอบสนองต่อแรงที่กระทำบนพื้นผิวเฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Threshold
ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
Two-point discrimination threshold
ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยทสุด ที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น 2 ตำแหน่งใช้สาหรับวดัระยะห่างของReceptivefields
การได้กลิ่น (Smell)
อวัยวะท่ีทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือ จมูก (Nose)
บริเวณที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นที่อยู่บริเวณโพรงจมูกส่วนบน เรียกว่า Olfactory epithelium
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับกลิ่น Olfactory bulb
Olfactoryreceptors คือฐานรับกลิ่นที่มีลักษณะเป็นเนื้อผิว เรียกว่า Olfactoryepithelium
ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด คือ Olfactory receptor cells, Supporting epithelial (sustentacular) cells และ Basal cells
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับกลิ่นคือ Amygdala
การมองเห็น (Vision)
Visual association cortex
(Secondary visual area) เพื่อแปลความหมายจากภาพที่มองเห็นว่าวัตถุน้ันคืออะไร มีรูปร่างลักษณะอย่างไร
Primary visual cortex
เพื่อทำหน้าที่รับภาพที่มองเห็นเป็นภาพจริงหัวต้ัง
Retina เป็นส่วนของเซลล์รับแสง
Fovea เป็นจุดเล็กๆบนเรตินาซึ่งเป็นจุดท่ีมองเห็นชัดที่สุด
Rods (เซลล์รับแสง) ที่มีลักษณะเป็นแท่งยาวๆ ไวแสงมาก กระจํายอยู่บริเวณรอบนอก Fovea มีจํานวนประมาณ 100 ล้านอัน rods จํานวน หลายพันตัวถูกต่ออยู่กับเส้นประสาท1เส้นจึงทําให้ความคมชัดของการมองเห็นต่ำมาก จะไม่ปรากฏสีต่างๆ ในระบบของ rods จะเห็นเป็น เพียงขาว-ดําเท่านั้น
Cones (เซลล์รับสี) ซึ่งจะเริ่มทํางานเมื่อได้รับแสงการมองเห็นสีต่างๆขึ้นอยู่กับการทำงานของ Cones ถ้า Cones ทั้ง 3 กลุ่มทํางานพร้อมกันเท่าๆ กันจะมองเห็นเป็นแสงสีขาวหรือไม่มีสี ถ้าCones ตัวใดตัวหน่ึงเสียไปจะทําให้เกิดตาบอดสี
จากการทํางานของ Cones และ Rods ก็พอจะแบ่งระดับการมองเห็นออกเป็น3ระดับ คือ
2.MesopicVision เป็นช่วงที่ Rods และ Cones ทํางานร่วมกันทําให้มองเห็นวัตถุเป็นสีปนขาว-ดําแต่ไม่สามารถระบุให้แน่ชัดได้ว่าเป็นสีใด
3.PhotopicVision เป็นช่วงที่ Cones ทํางานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัตถุต่างๆเป็นสีถูกต้องและบอกรายละเอียดของวัตถุได้ชัดเจน
1.ScotopicVision เป็นช่วงที่ Rods ทํางานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัตถุต่างๆเป็นสีขําว-ดําเท่านั้น
สรีรวิทยาของการมองเห็นภาพ
จอตา (Retina) >> จานประสาทตา (Optic disc) >> เส้นประสาทตา (Optic nerve) >> ส่วนไขว้ประสาทตา (Optic chiasm) >> ลำเส้นใยประสาทตา (Optic tracts) >> ศูนย์ถ่ายทอดสัญญาณประสาทหลักจากจอตา (Lateral geniculate nucleus, LGN) >> ส่วนแผ่ประสาทตา (Optic radiation) >> Primary visual cortex (Area 17) >> Visual association cortex (Area 18-19)
การปรับตาดูใกล้ไกล (Eye accommodation)
Accommodation System หรือการเพ่งของเลนส์แก้วตาน้ันเป็นระบบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภายในลกูตาที่เกิดขึ้น
• ขณะที่ ciliary muscle คลายตัว เอ็น zones fiber ซึ่งปลายข้างหนึ่งยึดกับกล้ามเนื้อ ciliary และอีกข้างหนึ่งยึดกับขอบถุงแคปซูลของเลนส์จะตึงทำให้เกิดแรงดึงไปที่ตัวเลนส์ ทำให้ส่วนหน้าและส่วนหลังของเลนส์แบนลง
• ขณะท่ี ciliary muscle หดตัวจะทำให้ zonular fiber เกิดการหย่อนตัวทำให้เลนส์ตานั้นป่องขึ้นมาการ accommodation ทำให้เกิดความโค้งที่ผิวเลนส์มากขึ้นทั้งส่วนหน้าและส่วนหลังส่งผลให้กำลังหักเหมีมากขึ้น
การรับรส (Taste)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรส Insular cortex
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับรส คือ Limbic system
องค์ประกอบของการรับความรู้สึกพิเศษ (The components of special sensory)
2.เส้นประสาทสมอง(Cranial nerve)
1.ตัวรับความรู้สึก (Sensory receptor) และเซลล์รับความรู้สึกตัวที่ 1
หรือ First order neuron
3.เซลล์ประสาทที่ 2 และ 3
(Second/Third order neurons)
4.เปลือกสมองรับความรู้สึกส่วนปฐมภูมิ
(Primary sensory cortex)
การได้ยิน (Hearing)
1.หูชั้นนอก ใบหู (Pinna) → ช่องหู (Auditory canal) → แก้วหูหรือเยื่อแก้วหู (Ear drum)
2.หูชั้นกลาง ท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) → กระดูกค้อน (Malleus) → กระดูกทั่ง (Incus) → กระดูกโกลน (Stapes)
3.หูชั้นในคอเคลีย (Cochlea) → ช่องเซมิเซอร์คิวลาร์ (Semicircular canal)
4.เซลล์ขน (Hair Cells) เป็นตัวรับกระตุ้นของเสียงโดนเซลลขนที่ฐานคอเคลียทําหน้าที่รับเสียงสูงและปลายท่อทําหน้าที่รับเสียงทุ่ม
5.แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth) อวัยวะรับการทรงตัว
6.หินปนู (Otolith) เกาะอยู่ระหว่างคอเคลียกับประสาทการทรงตัวเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวศีรษะตามแรงโน้มถ่วงของโลก