Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses, A6480089 นางสาวรัชรินทร์ ทองย้อย - Coggle…
Sensory and Special Senses
I
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก
2) แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
Exteroceptor : สิ่งเร้าอยู่ภายนอก เช่น ความร้อนเย็น, สัมผัสเจ็บปวด
Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
Telereceptor : สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ ได้แก่ กลิ่น แฮง เสียง
Proprioceptor : ตำแหน่งของร่างกาย ความรู้สึกในขณะที่มีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ, เ อ็น, ข้อต่อ)
3) แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
Mechanoreceptor : พลังงานกล (Tactile, Stretch receptor, Skeletal muscle, Tendons, Ligaments, Joint capsules, Sound)
Thermoreceptor : อุณหภูมิ (Cold, Warm receptor)
Chemoreceptor : เคมี (Taste buds, Olfactory receptors)
Photoreceptor : แสง (Retina : Rod, Cone cells)
Nociceptor : ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย เช่น ความเจ็บปวด
1 แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
Free nerve endings (ปลายเปลือย) Pain, Thermal etc
Encapsulated nerve endings (ปลายเป็นกระเปาะแคปซูล) Corpuscle of Touch
Sensory cells (เซลล์เฉพาะ) Receptor cell in Eye, Ear, Tongue
Peripheral cells (เซลล์ประสาทส่วนปลาย)
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกายข
Posterior (Dorsal) columns สัมผัสแบบละเอียด
Spinocerebellar tracts สัมผัสจากกล้ามเนื้อ, กระดูก ข้อต่อ
Spinothalamic tracts สัมผัสความเจ็บปวดและ อุณหภูมิ
Dorsal (posterior) column-medial lemniscus pathway
Spinothalamic tracts
Nerve fibers and Pain
Fast pain
เหนี่ยวนำบน A-delta fiber บอกตำแหน่งได้
Slow pain
เกิดช้าๆ อยู่นาน บอกตำแหน่งแน่นอนไม่ได้
Spinothalamic tracts
Anterior spinothalamic tract : สัมผัสแบบหยาบ (Crude touch)
Lateral spinothalamic tract ความเจ็บปวดและอุณหภูมิ (Pain and Temperature)
Sites of Pain origin
Visceral pain
เป็นอาการปวดที่มาจากอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ, ปอด, ระบบทางเดินอาหาร และระบบสืบพันธุ์
Neuropathic pain
เป็นอาการปวดที่มาจากโรค
ปลายประสาทเสื่อม
Somatic pain
เป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนัง,
กระดูก, กล้ามเนื้อ, เอ็นข้อต่อ เป็นต้น
Primary sensory cortex
Brodmann area: 3, 1, 2 ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจากผิวหนัง, กล้ามเนื้อ, และข้อต่อ
Referred pain
อาการปวดต่างที่ เป็นความเจ็บปวดต่างที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งร้าอันก่อความเจ็บปวด เช่น อาการปวดเค้นหัวใจ (angina pectoris) ซึ่งเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (หัวใจวาย) แต่มักจะทำให้รู้สึกปวดคอ ไหล่และหลัง
Brodmann area: 3, 1, 2 ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจาก ผิวหนัง, กล้ามเนื้อ, และข้อต่อ
Spinocerebellar tracts
Spinal cord injury
ตัวรับรู้อุณหภูมิ (Thermoreceptor)
ตัวรับรู้สัมผัส (Tactile mechanoreceptor)
Slowly adapting mechanoreceptor ปรับตัวช้า
Rapidly adapting mechanoreceptor อยู่บริเวณต้องรับการกระตุ้นที่ไวมาก สามารถบอกตำแหน่ง และรายละเอียดสิ่งกระตุ้นได้ดี
การรับรู้ความรู้สึกจากกล้ามเนื้อลาย เอ็น และข้อต่อเพื่อสั่งไปประมวลผลที่สมอง มี ความสำคัญเกี่ยวกับการทรงตัว
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก
Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Receptive fields : ตัวรับหนึ่ง ๆ จะตอบสนองต่อแรงที่กระทำบนพื้นผิวเฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
Two-point discrimination threshold : ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยที่สุด ที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น 2 ตำแหน่งใช้สำหรับวัดระยะห่างของ Receptive fields
การรับรู้ทางประสาทสัมผัส
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
Deep sensation
ประลาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก
Visceral sensations
ประสาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Superficial sensation
ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว
Special senses
ประสาทสัมผัสการรับรู้
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น
Modality : ประเภท (Mechanical, Chemical, Photo, Thermal stimuli)
Intensity : ความแรง (Sensory threshold frequency code)
Duration : ระยะเวลา (Receptor adaptation)
Location : ตำแหน่ง (Topographic organization)
การประเมินระบบประสาทรับความรู้สึก
II
การทรงตัว
ความรู้สึกสมดุล (Sense of equilibrium)
หูชั้นในที่ช่วยในการทรงตัว
(Vestibular apparatus หรือ Semicircular canals)
ทำหน้าที่ควบคุมการทรงตัวหากมีการ
เคลื่อนไหวของศีรษะอย่างกะทันหัน
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน (ความเร่งเชิงมุม) คือ หลอดกึ่งวงกลม (Semicircular ducts)
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวตามแนว XY (ความเร่งเชิงเส้น) คือ Saccule ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวตั้ง (แกน Y) Utricle ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวราบ (แกน X)
การรักษาสมดุลการทรงตัวและการเคลื่อนไหว
การควบคุมรักษาสมดุลการทรงตัว
และเคลื่อนไหว ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ดังนี้
Eyes (ตา)
Posterior column of spinal cord(ไขสันหลัง)
Vestibular apparatus (หู)
Cerebellum (สมองซีรีเบลลัม)
การรับรส
การได้ยิน
หูมีรูปร่างคล้ายใบพัด มีขนาดไม่ใหญ่มาก ตั้งอยู่ขนาบสองข้างของใบหน้าทำหน้าที่หลักในการได้ยินและเกี่ยวข้องกับการทรงตัว
.
หูชั้นนอก ใบหู (Pinna) - ช่องหู (Auditory canal) -> แก้วหู หรือ เยื่อแก้วหู (Ear drum)
หูชั้นกลาง ท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) -> กระดูกก้อน (Malleus) -> กระดูกทั่ง (Incus) -> กระดูกโกลน (Stapes)
หูชั้นใน คอเคลีย (Cochlea) - ช่องเซมิเซอร์คิวลาร์ (Semicicular canal)
เซลล์ขน (Hair Cells) เป็นตัวรับกระตุ้นของเสียง โดนเซลล์ขนที่ฐานคอเกลียทำหน้าที่รับเสียงสูงและปลายท่อทำหน้าที่รับเสียงทุ้ม
แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth) อวัยวะรับการทรงตัว
หินปูน (0tolith) เกาะอยู่ระหว่างคอเคลียกับประสาทการทรงตัวเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวศีรษะตามแรงโน้มถ่วงของโลก
การทดสอบการได้ยิน
การได้กลิ่น
อวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือ จมูก (Nose)
บริเวณที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นอยู่ที่บริเวณโพรงจมูกส่วนบน เรียกว่า Olfactory epithelium
การมองเห็น
Retina เป็นส่วนของเซลล์รับแสง
Fovea เป็นจุดเล็กๆ บนเรดินา ซึ่งเป็นจุดที่มองเห็นชัดที่สุด
.
Rods(เซลล์รับแสง)
ขาว ดำ
Cones (เซลล์รับสี)
น้ำเงิน เขียว แดง
การทำงานของ Cones และ Rods
Mesopic Vision : สีปนขาว-ดำ แต่ไม่สามารถระบุให้แน่ชัดได้ว่าสีใด
Photo pic Vision : เป็นสีถูกต้องและบอกรายละเอียดของวัตถุได้ชัดเจน
Scotopic Vision : สีขาว-ดำเท่านั้น
สรีรวิทยาของการมองเห็น
เส้นประสาทตา (Optic nerve)
ส่วนไขว้ประสาทตา (Optic chiasm)
จานประสาทตา (Optic disc)
ลำเส้นใยประสาทตา (Optic tracts)
จอตา (Retina)
ศูนย์ถ่ายทอดสัญญาณประสาทหลักจากจอตา (Lateral geniculate nucleus, LGN)
ส่วนแผ่ประสาทตา (Optic radiation)
Primary visual cortex (Area 17)
Visual association cortex (Area 18-19)
การปรับตาดูใกล้ไกล (Eye accommodation)
Accommodation System หรือการเพ่งของเถนส์แก้วตานั้นเป็นระบบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภายในลูกตาที่เกิดขึ้น
ขณะที่ ciliary muscle คลายตัว เอ็น zones fiber ซึ่งปลายข้างหนึ่งยึดกับกล้ามเนื้อ ciliary และอีกข้างหนึ่งยึดกับ
ขอบถุงแคปซูลของเลนส์จะตึง ทำให้เกิดแรงดึงไปที่ตัวเลนส์ ทำให้ส่วนหน้าและส่วนหลังของเลนส์แบนลง
ขณะที่ ciliary muscle หดตัว จะทำให้ zonular fiber เกิดการหย่อนตัว ทำให้เลนสัตานั้นป้องขึ้นมา
การ accommodation ทำให้เกิดความโค้งที่ผิวเลนส์มากขึ้นทั้งส่วนหน้าและส่วนหลัง ส่งผลให้กำลังหักเหมีมากขึ้น
การตอบสนองของรูม่านตาต่อแสง
Vision defects
A6480089 นางสาวรัชรินทร์ ทองย้อย