Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไป และอวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ part 1,…
บทที่ 7 อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไป และอวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ
part 1
ระบบประสาทสัมผัส
General features of Sensory systems
Somatosensorysystemsandpain
Special sensory system
การรับรู้ทางประสาทสัมผัส
Modulation : แปลงสัญญาณ
Transmission : ส่งสัญญาณ
Perception : การรับรู้
Transduction : แปลสัญญาณ
ชนิดของการรับรู้ทาง ประสาทสัมผัส
Superficialsensation: ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว(รับรู้ผ่านทางผิวหนัง)
Deep sensation : ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก(รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ)
Visceral sensations : ประสาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Special senses : ประสาทสัมผัสการรับรู้
ลักษณะสิ่งกระตุ้น
Intensity :
Duration :
Modality :
Location
คุณสมบัติของตัวรับความรู้สึก
Adaptation : การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Receptive fields : ตัวรับหนึ่งหนึ่งจะตอบสนองต่อแรงที่กระทบบนพื้นผิวเฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
Two-point discrimination threshold : ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้นสองตำแหน่งใช้สำหรับวัดระยะห่างของ Receptivefields
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก
แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตาม
Exteroceptor: สิ่งเร้าอยู่ภายนอกเช่นความร้อนเย็น สัมผัส เจ็บปวด
Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
Telereceptor: สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับได้แก่ กลิ่น แสง เสียง
Proprioceptor : ตำแหน่งของร่างกายความรู้สึกในขณะที่มีการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ
แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น Mechanoreceptor: พลังงานกล
Thermoreceptor: อุณหภูมิ
Chemoreceptor: เคมี
Photoreceptor: แสง
Nociceptor: ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตรายเช่น ความเจ็บปวด
1.แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายกายวิภาคศาสตร์
ระบบประสาทรับความรู้สึกทาง
Somatosensory system
Dorsal (posterior) column-medial lemniscus pathway
Posterior (Dorsal) columns สัมผัสแบบละเอียด
Spinocerebellar tracts สัมผัสจากกล้ามเนื้อ กระดูก ข้อต่อ
Spinothalamic tracts สัมผัสความเจ็บปวดและอุณหภูมิ
Spinothalamic tracts
Anteriorspinothalamictract: สองผัดแบบกายหยาบ
Lateralspinothalamictract: ความเจ็บปวดและอุณหภูมิ
ตัวรับสัมผัส (Tactilemechanoreceptor)
Slowlyadaptingmechanoreceptor
Free nerve ending: อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
Merkeldisks: อยู่บริเวณปลายนิ้ว
Ruffini ending: อยู่ลึกในผิวหนังข้อต่อกดแรงๆ
Rapidlyadaptingmechanoreceptor
อยู่บริเวณต้องได้รับการกระตุ้นที่ไวมาก
Meissnercorpuscle: พบบริเวณนิ้วมือหัวแม่มือฝ่ามือ
Pacinian corpuscle: อยู่บริเวณผิวหนัง
Nerve fibers and Pain
Fast pain (เจ็บ) First pain หรือเหนียวนำบน A-delta fiber บอกตำแหน่งได้
Slowpain (ปวด) second pain หรือเกิดช้าๆอยู่นานตำแหน่งแน่นอนไม่ได้เหนียวนำบน c-fiber บอกตำแหน่งได้
Sites of Pain origin
Visceralpain เป็นอาการปวดที่มาจากอวัยวะภายในเช่น หัวใจปอดระบบทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุ์
Neuropathicpain เป็นอาการปวดที่มาจากปลายประสาทเสื่อม
Somaticpain เป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนังกระดูก กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ เป็นต้น
Referred pain อาการปวดต่างที่เป็นความเจ็บปวดต่างที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อให้เกิดความเจ็บปวด
Primary sensory cortex
Brodmann area: 3, 1, 2 ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจากผิวหนังกล้ามเนื้อและข้อต่อ
Anteriorspinocerebellartracts(Do cross; มีการไขว้
Posteriorspinocerebellartracts(Donotcross; ไม่มีการไขว้
ตัวรับอุณหภูมิThermoreceptor
Free nerve ending: Cold-Warm receptor
ตอบสนองต่ออุณหภูมิเย็นและร้อน
Krausecorpuscle (end bulb) :Coldreceptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิต่ำ
บทที่ 7อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ part 2
การมองเห็น (vision)
Primary visual cortex
เพื่อทำหน้าที่รับภาพที่มองเห็นเป็นภาพจริงหัวตั้ง
Retina เป็นส่วนของเซลล์รับแสง
Fovea เป็นจุดเล็กๆบนเรติน่า
Rods เซลล์รับแสง
cones เซลล์รับสี
Visual association cortex
เพื่อแปลความหมายจากภาพที่มองเห็นว่าคืออะไรมีรูปร่างลักษณะอย่างไร
cones และ Rods แบ่ง ระดับการมองเห็นเป็น 3 ระดับ
1.ScotopicVision เป็นช่วง Rodsที่ทำงานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัตถุต่างๆเป็นสีขาวดำเท่านั้น
2.MesopicVision เป็นช่วงที่ Rodsและ Conesทำงานร่วมกันทำให้มองเห็นวัตถุเป็นสีขาวปนดำแต่ไม่สามารถระบุให้ชัดเจนว่าเป็นสีใด
3.PhotopicVision เป็นช่วงที่ Cones ทำงานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัตถุต่างๆเป็นสีที่ถูกต้อง
แสง>> cornea (กระจกตา) >>pupill (รูม่านตา) >> Lens (เลนส์ตา) >> Retina (ฉากรับจริง) ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
องค์ประกอบของตัวรับความรู้สึกพิเศษ
เส้นประสาทสมอง ( cranial nerve)
ตัวรับความรู้สึก (Sensory recepter)
เซลล์ประสาทที่ 2ที่ 3 ( second/Third order neurons)
เปลือกสมองรับความรู้สึกส่วนปฐมภูมิ (Primary sensory cortex)
การได้ยินHearing
Sound (Air pressure waves)>>Captured by Pinna >> Tympanic membrane>> Auditory ossicles>> Vestibular window>> Perilymph >> Scala vestibuli >>Organ of Corti
หูชั้นนอก หูชั้นกลางหูชั้นใน เซลล์ขน หินปูน
การทรงตัว Balance
การควบคุมรักษาสมดุลการทรงตัวและการเคลื่อนไหวมีองค์ประกอบดังนี้
1.Vestibularapparatus หู
2.Eyes ตา
Posterior column of spinal cord ไขสันหลัง
Cerebellum สมอง
หูชั้นในช่วยในการทรงตัวVestibular apparatus หรือ Semicircular canals
1.หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน(ความเร่งเชิงมุม)คือหลอดกึ่งวงกลม
Semicircular ducts
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวตามแนว XYความเร่งเชิงเส้นคือ
Saccule ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวตั้งแกน Y
Utricle ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวราบแกน X
การรับรส (Test)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรส
Insular cortex
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อเกิดการรับรส
Limbic system
การได้กลิ่น Smell
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับกลิ่น คือ Amygala
อวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือจมูก บริเวณโพรงจมูกส่วนบนเรียกว่า Olfactory epithelium
Olfactory recepter cells
Supping epithelial cells
Basal cells