Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เมแทบอลิซึมของพลังงานและสรีรวิทยาการควบคุมอุณหภูมิ, 253970875…
เมแทบอลิซึมของพลังงานและสรีรวิทยาการควบคุมอุณหภูมิ
สัญญาณชีพ
สัญญาณชีพเป็นกลุ่มของอาการแสดงสำคัญที่บ่งบอกถึงสถานะของกระบวนการที่ทำให้ร่างกายมีชีวิติอยู่ได้ ค่าปกติของสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันไปตามอายุ น้ำหนัก เพศ และสุขภาพโดยรวม
อัตราชีพจร
อัตราการหายใจ
ความดันโลหิต
อุณหภูมิกาย
อุณหภูมิกาย
หมายถึง ระดับความร้อน หรือความเย็นของร่างกาย ที่วัดค่าออกมาได้หรือเป็นความสมดุลระหว่างการผลิตความร้อน และการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิแกนกลาง (Core temperature)
มี Thermoregulatory system เป็นระบบควบคมอุณหภูมิแกนกลางให้อยู่ในช่วงนี้
อุณหภูมิผิว (Shell or Skin temperature)
แปรผันได้มากกว่าอุณหภูมิแกนกลาง
โดยทั่วไปจะมีค่าน้อยกว่า Core temperature
ผิวเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนความร้อนกับสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยที่มีผลต่อการผันแปรของอุณหภูมิกายปกติ
อัตราการเมตาบอลิซึม
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง
ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน
การเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาระหว่างวันหรือนาฬิกาชีวภาพ
การผลิตความร้อนจากภายในร่างกาย
Metabolism rate
Basal metabolism rate
Age : Children > Elderly
Sex : Male > Female
Surface area มาก → BMR มาก
Activity : Muscle contraction ↑, MR↑ เพื่อเพิ่มการผลิตพลังงาน
Emotion : Epinephrine secretion↑, Muscle tone↑
Food intake : MR↑: SDA มีผลประมาณ 6 ชั่วโมง หลังการรับประทานอาหาร
Atmospheric temp. : U shape
SDA:Specificdynamicactionการย่อยดูดซึมขนส่งใช้หรือเกบ็ สารอาหาร
Extra Metabolism
Hormones
ฮอร์โมน Catecholamine (NE, E) ถูกนามาใช้เพื่อตอบสนองในระยะส้ัน
ฮอร์โมน Thyroxine ถูกนามาใช้เพื่อตอบสนองในระยะยาว 1-3 สัปดาห์
Shivering
อยู่ในทเี่ย็นจัด→อาการหนาวสั่นจากการหดตัวเป็นจังหวะถี่ๆของกล้ามเนื้อ
โครงร่าง,อยู่นอกเหนืออานาจจิตใจ→ผลติความร้อน↑
Brown adipose tissue
Sympathetic nerves : Norepinephrine (NE), Epinephrine (E)
Mitochondria
Blood vessels
สิ่งแวดล้อมภายนอก
การแผ่รังสี 60%
การพาความร้อน 15%
การระเหย 22%
การนำความร้อน 18 %
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
Central or Core
Cold-sensitiveneurons; อุณหภูมิโดยรอบที่เย็น
Heat-sensitiveneurons; อุณหภูมิโดยรอบที่ร้อน
Deep body temp. receptor
Spinal cord, Abdominal viscera, Around the Great vein
Peripheral or Cutaneous thermoreceptors
Cold thermoreceptors; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 12 – 32 °C ผา่ น Aδ small myelinated fiber
Warmth thermoreceptors ; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 30 – 34 °C ผา่ น C unmyelinated fiber
ความผิดปกติของการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
อุณหภูมิกายสูง (มากกว่า 37 °C )
Heatstroke(อุณหภูมิกายสูงมากกว่า40.5°C)
Heat syncope (ลมแดด)
พบในคนที่ยืนนิ่ง ๆ นาน ๆ กลางแดด → Venous return ↓
Fever หรือ Pyrexia (ไข้)
Risingphaseระยะเริ่มไข้ขึ้น(หนาวสั่น,ผิวซีด,เส้นเลือดที่ผิวหนังหดตัว)
Plateau phase ระยะไข้ทรง (ไข้สูง, หน้าแดง, ตัวแดง, ไม่มีเหงื่อ)
Defervescence ระยะสร่างไข้ (เหงื่อออก)
Heat exhaustion (การอ่อนเพลียจากความร้อนจากการสูญเสียน้ำจำนวนมาก)
อุณหภูมิกายต่ำ (ต่ำกว่า 35 °C )
Mild(32-35°C)
Shivering, Cutaneous vasoconstriction
Moderate (28 - 32 °C )
Shivering↓, Metabolism↓, ความดัน↓, การเต้นของหัวใจ↓, หารหายใจ↓,
ไม่มีสติ(Unconscious)
Severe (< 28 °C ) หัวใจหยุดเต้น, เซลล์ตาย
การสมดุลความร้อน
Heat balancing → Normal body temperature Heat production = Heat loss
Hyperthermia → High body temperatureHeat production > Heat loss
Hypothermia → Low body temperature Heat production < Heat loss