Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preterm labor, :red_flag: นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง เลขที่ 27…
Preterm labor
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับแผนการรักษา และการปฏิบัติตัวในระยะคลอด
ดูแลให้ได้รับยาในกลุ่ม glucocorticoid ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจน
หลีกเลี่ยงการให้ยาระงับอาการเจ็บปวด
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพและเตรียมทีมกุมารแพทย์
ดูแลให้ระยะที่สองของการคลอดใช้เวลาน้อยที่สุด
ให้การช่วยเหลือทารกเมื่อแรกเกิดทันที
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ประเมินผลข้างเคียงของยากลุ่ม Beta adrenergic receptor agonist และยากลุ่ม glucocorticoid
อาการแลอาการแสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวมากเกินไป
ปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลง
มีมูกเลือดหรือมีน้ำคร่ำออกมาทางช่องคลอด
ปวดท้องน้อยในอุ้งเชิงกราน หรือปวดท้องน้อยคล้ายปวดประจำเดือน
ปวดหลังส่วนกลาง และปวดบนเอว
ปวดหน่วงในช่องคลอด ฝีเย็บ และทวารหนัก
ปัสสาวะบ่อยกวาปกติ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
งดการสวนปัสสาวะและการตรวจภายในช่องคลอด
ดูแลใหได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
กรณีที่ได้กลับบ้าน ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
การรักษา
ประเมินหาสาเหตุที่ชัดเจน
ประเมินอายุครรภ์และสภาวะของทารกในครรภ์
การให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
Bricanyl
Adalat
Indomethacin
Magnesium sulfate
การให้ยากระตุ้นการเจริญของปอดทารก
การให้ยาปฏิชีวนะในระยะคลอด กรณที่ไม่สามารถยับยั้งการคลอดได้
สาเหตุ
การคลอดก่อนกำหนดที่เกิดขึ้นเอง
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนอายุครรภ์ครบกำหนด
การคลอดก่อนกำหนดเมื่อมีข้อบ่งชี้
ภาวะ severe preeclampsia
ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตช้า
การคลอดก่อนกำหนดเมื่อมีภาวะแทรกซ้อนฉุกเฉิน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
สายสะดือพลัดต่ำ
การพยาบาลเพอปองกนการคลอดกอนกหนด
การให้ความรู้ในระยะตั้งครรภ์
การให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะเสี่ยงและวิธีการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม
งดสูบบุหรี่และสารเสพติดทุกชนิด
ลดหรือหลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
รักษาความสะอาดอัวยวะสืบพันธ์ุและไม่กลั้นปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงสาเหตุทุกระตุ้นให้เกิดอาการเจ็บครรภ์
เมื่อมีอาการเจ็บครรภ์ให้งดการมีเพศสัมพันธุ์
ผ่อนคลายด้านจิตใจ และลดความเครียด
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์
การให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ
การประเมินและวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
ปากมดลูกมีการเปิดขยาย
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ ทุก 10 นาที
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ fetal fibrinogen > 50 mg/mL
ตรวจ estriol ในน้ำลายมารดาให้ผลบวก เมื่อมีค่า >2.1ml/mL
วัดความกว้างของปากมดลกโดยการอุลตร้าซาวน์
1.การซักประวัติ
:red_flag: นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง
เลขที่ 27 รหัสนักศึกษา 6111001402385 :red_flag: