Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses Part1-2 - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses Part1-2
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
Superficial sensation
ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก
Visceral sensations
ประสาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Superficial sensation
ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว
Special senses
ประสาทสัมผัสการรับรู้
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น
Intensity : ความแรง
Duration : ระยะเวลา
Modality : ประเภท
Location : ตา แหน่ง
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก
Threshold
กระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ท าให้เกิดความรู้สึก
Action potentialจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการ รวมตัวกันของGraded potential
Adaptation
ตัวรับความรู้สึก
Tonic receptors
ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นตลอดเวลา เช่น ตัวรับความรู้สึกบริเวณหูที่ท าหน้าที่เกี่ยวข้อง กับการทรงตัว
Phasic receptors
ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นเฉพาะ เช่น ตัวรับความรู้สึกบริเวณ ผิวหนงั
Receptive fields
ตอบสนองต่อแรงทกี่ระทา บนพืน้ผิวเฉพาะ ในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Two-point discrimination threshold
กระตุ้นที่น้อยที่สุด ที่ สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น 2 ตำ แหน่ง
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก
แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
Encapsulated nerve endings (ปลายเป็นกระเปาะแคปซูล)
Sensory cells (เซลล์เฉพาะ)
Free nerve endings (ปลายเปลือย)
Peripheral cells (เซลล์ประสาทส่วนปลาย)
แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
Visceroceptor
สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
Telereceptor
สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับได้แก่กลิ่นแสงเสียง
Exteroceptor
สิ่งเร้าอยู่ภายนอก เช่น ความร้อน/เย็น,สัมผัสเจ็บปวด
Proprioceptor
ความรู้สึกในขณะที่มีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ, เอ็น,ข้อต่อ)
แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
Chemoreceptor
เคมี
Photoreceptor
แสง
Thermoreceptor
อุณหภูมิ
Nociceptor
ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย เช่น ความเจ็บปวด
Mechanoreceptor
พลังงานกล
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย
Nerve fibers and Pain
Fast pain (เจ็บ)
เหนี่ยวนำบน A-delta fiber บอก ตำแหน่งได้
Slow pain (ปวด)
เกิดช้า ๆ อยู่นาน บอก ตำแหน่งแน่นอนไม่ได้
Sites of Pain origin
Visceral pain
อาการปวดที่มาจากอวยัวะภายใน เช่น หวัใจ,ปอด,ระบบทางเดินอาหารและระบบ สืบพนัธุ์
Neuropathic pain
อาการปวดที่มาจากโรค ปลายประสาทเสื่อม ส่วนมากเกิดกับคนเป็นโรคเบาหวาน
Somatic pain
อาการปวดที่มาจากผิวหนัง, กระดูก,กล้ามเนื้อ,เอ็นข้อต่อ
Referred pain
อาการปวด เป็นความเจ็บปวดที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อความเจ็บปวดเช่น อาการปวดเค้นหัว
ตัวรับรู้สัมผัส
Free nerve ending
อยู่ที่ผิวหนัง รับการสัมผัส
Merkel’sdisks
อยู่บริเวณปลายนิ้วมือ รับสัมผสัที่ละเอยีดอ่อน
Ruffini ending
อยู่ลึกในผิวหนังและข้อต่อถ้าจะกระตุ้นต้องกดแรงๆ
Meissner’s corpuscle
พบบริเวณนิ้วมือ ฝ่ามือ ริมฝีปาก หัวนม รับกระตุ้นแบบสัมผัสละเอียด
Pacinian corpuscle
บริเวณผิวหนัง รับแรงกดสั่นสะเทือน พบที่หัวนม และอวยัวะเพศ
ตัวรับรู้อุณหภูมิ (Thermoreceptor)
Krause’s corpuscle
Coldreceptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิต่ำ
Free nerve ending
ตอบสนองต่ออุณหภูมิเย็น อุ่น และ ร้อน
การมองเห็น (Vision)
Visual association cortex
เพื่อแปลความหมายจากภาพ ที่มองเห็นว่าคืออะไร รูปร่างแบบไหน
Primary visual cortex
ทำหน้าที่รับภาพที่มองเห็นเป็นภาพจริงหัวตั้ง
Retina
เป็นส่วนของเซลล์รับแสง
Fovra
เป็นจุดเล็กๆบนเรตินา ซึ่งเป็นจุดที่มองเห็นชัดที่สุด
Rods (เซลล์รับแสง)
มีลักษณะเป็นแท่งยาวๆ กระจายอยู่บริเวณรอบนอก มีจำนวนประมาณ 100 ล้านอัน ทำให้ความคมชัดของการมองเห็นต่ำมาก และจะไม่ปรากฏสีต่างๆ จะเห็นเป็นเพียงขาว-ดำเท่านั้น
Cones (เซลล์รับสี)
ทำงานเมื่อได้รับแสงการมองเห็นสีต่างๆ จะมองเห็นเป็นแสงสีขาวหรือไม่มีสี ถ้า cones ตัวใดตัวหนึ่งเสียไปจะทำให้เกิดตาบอดสี
การได้ยนิ (Hearing)
หูชั้นนอก ใบหู (Pinna),ช่องหู (Auditory canal), แก้วหู หรือ เยื่อแก้วหู
หูชั้นกลาง ท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) ,กระดูกคอ้น (Malleus) , กระดูกทั่ง (Incus) ,กระดูกโกลน (Stapes)
หูชั้นนใน คอเคลีย (Cochlea),ช่องเซมิเซอร์คิวลำร์(Semicircular canal)
เซลล์ขน (Hair Cells) เป็นตัวรับกระตุ้นของเสียง โดนเซลล์ขนที่ฐานคอเคลียทำหน้าที่รับเสียงสูงและปลายท่อทำหน้าที่รับเสียงทุ้ม
หินปูน (Otolith) เกาะอยู่ระหว่างคอเคลียกับประสาทการทรงตัว เพื่อช่วยในกำรเคลื่อนไหวศีรษะตามแรงโน้มถ่วงของโลก
แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth)อวัยวะรับการทรงตัว
การทรงตัว (Balance)
การควบคุมรักษาสมดุลการทรงตัว และเคลื่อนไหว
.Vestibular apparatus (หู)
Eyes(ตา)
Posteriorcolumnofspinalcord (ไขสันหลัง)
Cerebellum(สมองซีรีเบลลัม)
หูัั้นในที่ั่วยในการทรงตัว
ควบคุมการทรงตัวหากมีการ เคลื่อนไหวของศีรษะอย่างกะทันหัน
หูชั้นในมีส่วนอวัยวะรับ ความรู้สึกของระบบการทรงตัว
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวตามแนว
การรับรส (Taste)
Insular cortex ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรส
Limbic system ทำหน้าที่แสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับรส
การได้กลิ่น (Smell)
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือจมูก อยู่บริเวณโพรงจมูก เรียกว่า Olfactory epithelium
Amygdala ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อได้รับกลิ่น