Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 - Coggle Diagram
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
ภาคที่ 3 จิตวิทยาการเรียนรู้สำหรับครูเพื่อศิษย์
ความเข้าใจคือ ความจำจำแลงสู่การฝึกตนฝนปัญญา
การฝึกฝนมีเป้าหมาย 2 ระดับ
ให้พอทำเป็น
ให้ชำนาญ
ฝึกฝนจนเหมือนตัวจริง
วิธีทำให้ตนเองคิดแบบผู้เชี่ยวชาญด้วย 4 กลไก
ฝึกฝนตนเองให้มีความสามารถใช้พื้นที่ความจำใช้งานที่มีจำกัดในการคิดได้มากและซับซ้อนขึ้น
ฝึกคิดแบบลึก
เพิ่มต้นทุนความรู้
คุยกับตัวเองว่ากำลังขบปัญหาอะไรอยู่
เพราะคิดจึงจำ
ทักษะการดำรงชีวิตเป็นทักษะสำคัญคือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณซึ่งจะเกิดขึ้นได้ต้องมีความรู้เดิมจากความจำระยะยาวเป็นฐาน ครูเพื่อศิษย์จึงต้องจัดการเรียนรู้ให้ศิษย์สั่งสมความรู้ไว้มากๆ โดยจัดความรู้ให้มีความหมาย
เปลี่ยนมุมความเชื่อเดิมเรื่องการเรียนรู้
ต้องฝึกฝนจึงจะเกิดความคล่องแคล่ว
มองจากมุมของการเรียนรู้นักเรียนมีความเหมือนกันมากกว่าต่างกัน
เราเข้าใจเรื่องหนึ่งๆ ตามบริบทของเรื่องที่เรารู้แล้ว
ความฉลาดสามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยการทำงานฝึกฝนอย่างหนัก
ความจำเป็นผลจากการคิด
การสอนก็เหมือนกับทักษะที่ซับซ้อนทางปัญญาอื่นๆ ต้องการฝึกฝนเพื่อปรับปรุง
ความรู้เชิงข้อเท็จจริงมาก่อนทักษะ
การเรียนรู้แตกต่างกันในช่วงแรกๆ กับช่วงหลังของการฝึกฝน
มนุษย์มีธรรมชาติใฝ่รู้แต่ธรรมชาติของมนุษย์มีข้อจำกัด
ความคิดกับความรู้เกื้อกูลกัน
ครูเพื่อศิษย์ต้องออกแบบการเรียนให้เด็กได้ฝึกการคิดกับการจำไปพร้อมๆ กัน คือ สั่งสมความรู้ที่เรียกว่าต้นทุนความรู้ ไปพร้อมกับฝึกการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ช่วยศิษย์ที่เรียนอ่อน
ครูช่วยศิษย์ที่เรียนอ่อนได้โดยแสดงความเชื่อในตัวศิษย์ว่าสามารถเรียนรู้ได้ไม่ใช่แค่แสดงออกด้วยคำพูด แต่ต้องแสดงออกด้วยการกระทำ แสดงจนศิษย์เชื่อแน่ว่าความเพียนคือหนทางแห่งความสำเร็จ
สมดุลระหว่างความง่ายกับความยาก
เคล็ดลับสำหรับครูเพื่อศิษย์สำหรับการออกแบบการเรียนรู้หรือตั้งโจทย์ให้พอดีระหว่างความยากหรือท้าทายกับความง่ายพอสมควร
ฝึกฝนตนเอง
ครูที่ดีต้องเรียนรู้เคี่ยวกรำฝึกฝนตนเองยิ่งกว่าศิษย์จึงจะเป็นครูที่ดีได้ ต้องฝึกฝนหาวิธีการเป็นโค้ชของการเรียนรู้ของศิษย์ที่ดี
ภาคที่ 2 แนวคิดการเรียนรู้สำหรับครูเพื่อศิษย์
การเรียนรู้อย่างมีพลัง 1
Plan
Do
Rewiew
ประกอบด้วย
Define
การเรียนรู้ และการสอนในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้แบบการตั้งคำถามเป็นหลัก เรียกว่า IBL หรือแบบ PBL ครูฝึกตนเองให้เป็นโค้ชหรือผู้อำนวยการเรียนรู้
การเรียนรู้อย่างมีพลัง 2
การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานคิด
การเรียนรู้แบบใช้โครงการ
การเรียนรู้กลุ่มย่อยแบบร่วมมือกัน
สอนน้อย เรียนมาก
สอนน้อยคือ สอนเท่าที่จำเป็น ครูต้องรู้ว่าตรงไหนควรสอน ตรงไหนไม่ควรสอนเพราะเด็กเรียนได้เอง ครูต้องออกแบบกิจกรรมให้เด็กเรียน จากกิจกรรม PBL
ครูเพื่อศิษย์ชี้ทางแห่งหายนะที่รออยู่เบื้องหน้า
ทักษะของครูเพื่อศิษย์โดยใช้เรื่องเล่าเล่าเรื่องของเด็กที่ชีวิตค่อยๆ ตกเข้าไปในม่วงมาร การเรียนแบบ PBL ครูอาจเลือกข่าวหนังสือพิมพ์ให้นักเรียนวิพากษ์กัน และครูอาจเลือกเรื่องจาก Youtube เอามาให้นักเรียนชม
สมดุลใหม่ในการทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์
ครูในยุคศตวรรษที่ 21 ครูปูพื้นฐานความรู้และทักษะเอาไว้สำหรับการมีชีวิตที่ดีในภายหน้า
ภาคที่ 1 ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
ศาสตราใหม่สำหรับครูเพื่อศิษย์
3R x 8C
3R
Reading
WRiting
ARith Metic
8C
Computing and IT literacy
Cross- cultural undestanding
Colaboration teamwork and leadership
Career and learning skills
Compasion
Communication information and media literacy
Creativity and innovation
Critical thinking and Problem solving
พัฒนาสมอง 5 ด้าน
สมองด้านสร้างสรรค์
สมองด้านเคารพให้เกียรติ
สมองด้านวิชาและวินัย
สมองด้านจริยธรรม
ทักษะครูเพื่อศิษย์ไทยในศตวรรษที่ 21
ครูเพื่อศิษย์ไทยต้องมีทักษะดังนี้
ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
ทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี
ทักษะชีวิตและอาชีพ
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
ความเข้าใจบทบาทการศึกษาในศตวรรษที่ 21
บทบาทของการศึกษามี 4 บทบาท
เพื่อฝึกฝนสติปัญญาของตน
เพื่อทำหน้าที่พลเมือง
เพื่อการทำงานและเพื่อสังคม
เพื่อสืบทอดจารีตและคุณค่า
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ประกอบด้วยทักษะย่อยดังนี้
การสื่อสาร และความร่วมมือ
ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
เป็นทักษะสำคัญสำหรับการเป็นมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ประเด็นสำคัญสำหรับครูเพื่อศิษย์คือ ต้องออกแบบการเรียนรู้เพื่อให้ศิษย์พัฒนาทักษะนี้ด้วยกับการเรียนแบบ PBL
ทักษะความเป็นนานาชาติ
ทำได้โดยออกแบบการเรียนแบบ PBL และทำความตกลงกับครูในโรงเรียนต่างประเทศเพื่อสร้างการเรียนรู้ PBL นั้น แบบ Collaborative learning
ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ครูเพื่อศิษย์ต้องออกแบบการเรียนรู้ให้ศิษย์มีทักษะต่อไปนี้
ใช้เครื่องมือสื่อสารเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นมีเดีย ฯลฯ
ปฏิบัติตามคุณธรรมและกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อวิจัย จัดระบบ ประเมิน และสื่อสารสารสนเทศ
ทักษะอาชีพและทักษะชีวิต
ครูเพื่อศิษย์ต้องออกแบบการเรียนรู้เพื่อให้ศิษย์พัฒนาทักษะต่อไปนี้
การริเริ่มและกำกับดูแลตนเองได้
ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม
การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้
ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ
ความยึดหยุ่นและการปรับตัว