Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ Part 1, บทที่ 7…
บทที่ 7 อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ Part 1
ระบบประสาทสัมผัส
(Sensory system)
General features of Sensory systems
Somatosensory systems and pain
Special sensory system
การับรู้ทางประสาทสัมผัส (Sensory perception)
Perception : การรับรู้
Modulation : แปลงสัญญาน
Transmission : ส่งสัญญาน
Transduction : แปลสัญญาน
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส (Type of sensation)
Superficial sensation : ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว
Deep sensation : ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก
Visceral sensations : ประสามสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Special senses : ประสาทสัมผัสการรับรู้
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น (Characteristic of Stimulus)
Modality : ประเภท
Intensity : ความแรง
Duration : ระยะเวลา
Location : ตำแหน่ง
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก(Common characteristics of receptor)
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
Adaptation : การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Tonic receptors : ตอบสนองการกระตุ้นตลอดเวลา (การทรงตัว)
Phasic receptors : ตอบสนองเฉพาะช่วงแรกและช่วงสุดท้าย (ผิวหนัง)
Receptive fields : ตอบสนองต่อแรงกระทำเฉพาะบริเวรขอบเขต
Two-point discrimination threshold : ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยที่สุดสามารถบอกได้ว่ามี 2 ตำแหน่ง
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก (Classification of sensory receptors)
แบ่งตามรูปร่างทางจุลชีววิทยา
Free nerve endings (ปลายเปลือย)
Encapsulated nerve endings (ปลายเป็นกระเปาะแคปซูล)
Sensory cells (เซลล์เฉพาะ)
Peripheral cells (เซลล์ประสาทส่วนปลาย)
แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
Exteroceptor : สิ่งเร้าที่อยู่ภายนอก
Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่จากอวัยวะภายใน
Telereceptor : สิ่งเร้าที่อยู่ห่างจากตัวรับ
Proprioceptor : ตำแหน่งของร่างกาย
แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
Mechanoreceptor : พลังงานกล
Thermoreceptor : อุณหภูมิ
Chemoreceptor : เคมี
Photoreceptor : แสง
Nociceptor : ตัวรับสิ่งกระตุ้น
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย (Somatosensory system)
Dorsal (posterior) column-medial lemniscus pathway
Posterior (Dorsal) columns สัมผัสแบบละเอียด
Spinocerebellar tracts สัมผัสจากกล้ามเนื้อ ,กระดูก , ข้อต่อ
Spinothalamic tracts สัมผัสความเจ็บปวดและอุณหภูมิ
Brodmann area: 3 , 1, 2
ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจากผิวหนัง, กล้ามเนื้อ,และข้อต่อ
Primary sensory cortex
Brodmann area: 3, 1, 2
ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจากผิวหนัง, กล้ามเนื้อ,และข้อต่อ
Spinothalamic tracts
Anterior spinothalamic tract :สัมผัสแบบกายหยาบ
Lateral spinothalamic tract ความเจ็บปวดและอุณหภูมิ
Nerve fibers and Pain
Fast pain (เจ็บ) หรือ First pain เหนี่ยวนำบน A-delta fiber บอกตำแหน่งได้
Slow pain (ปวด) หรือ Second pain เกิดช้าๆ อยู่นานตำแหน่งแน่นอนไม่ได้
เหนี่ยวนำบน C-fiber บอกตำแหน่งได้
Anterior spinocerebellar tracts
(Do cross; มีการไขว้)
Posterior spinocerebellar tracts
(Do not cross; ไม่มีการไขว้)
Referred pain
อาการปวดต่างที่ เป็นความเจ็บปวดต่างที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อความเจ็บปวด
Sites of Pain origin
Somatic pain เป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนัง กระดูก , กล้ามเนื้อ , เอ็นข้อต่อ เป็นต้น
Visceral pain เป็นอาการปวดที่มาจากอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ , ปอด, ระบบทางเดินอาหาร และระบบสืบพันธุ์
Neuropathic pain เป็นอาการปวดที่มาจากปลายประสาทเสื่อม
ตัวรับรู้สัมผัส (Tactile mechanoreceptor)
Rapidly adapting mechanoreceptor อยู่บริเวรต้องได้รับการกระตุ้นที่ไวมาก
Meissner’s corpuscle: พบบริเวรนิ้วมือ หัวแม่มือ ฝ่ามือ
Pacinian corpuscle: อยู่บริเวรผิวหนัง
Slowly adapting mechanoreceptor ปรับตัวช้า
Free nerve ending: อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
Merkel’sdisks: อยู่บริเวรปลายนิ้ว
Ruffini ending: อยู่ลึกในผิวหนังข้อต่อกดแรงๆ
ตัวรับอุณหภูมิ (Thermoreceptor)
Krause’s corpuscle (end bulb):
Coldreceptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิต่ำ
Free nerve ending: Cold-Warm receptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิเย็น อุ่น และ ร้อน
บทที่ 7 อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ Part 2
องค์ประกอบของตัวรับความรู้สึกพิเศษ
(The components of special sensory)
ตัวรับความรู้สึก (Sensory receptor)
เส้นประสาทสมอง(Cranial nerve)
เซลล์ประสาทที่ 2 ที่ 3(Second/Third order neurons)
เปลือกสมมองรับความรู้สึกส่วนปฐมภูมิ
(Primary sensory cortex)
การมองเห็น(Vision)
แสง>>Cornea(กระจกตา)>>Pupil(รูม่านตา)>>Lens(เลนน์ตา)>>Retina(ฉากรับตา)>>ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
Visual association
cortex
เพื่อแปลความหมายจากภาพที่มองเห็นคืออะไรมีรูปร่างลักษณะอย่างไร
Primary visual
cortex
เพื่อทำหน้าที่รับภาพที่มองเห็นเป็นภาพจริงหัวตั้ง
Retina เป็นส่วนของเซลล์รับแสง
Fovea เป็นจุดเล็กๆบนเรติน่า
Rods (เซลล์รับแสง)
Cones (เซลล์รับสี)
จาการทำงานของ Cones และ Rods
Scotopic Vision Rods ทำงานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัตถุต่างๆ
Mesopic Vision Rods และ Cones ทำงานร่วมกัน
Photopic Vision Cones ทำงานเพียงเดียวจะมองเห็น
การได้ยิน (Hearing)
หูชั้นนอก, หูชั้นกลาง,หูชั้นใน, เซลล์ขน, แลบบิรินท์ ,หินปูน
Sound (Air pressure waves)>>Captured by Pinna>>Tympanic membrane>>Auditory ossicles >>Vestibular window>>Perilymph
Scala vestibuli >>Organ of Corti
การับรส (Taste)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรส
Insular cortex
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อการรับรส คือ Limbic system
การทรงตัว (Balance)
หูชั้นในที่ช่วยในการทรงตัว(Vestibular apparatus หรือ Semicircular canals)
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน คือหลอดกึ่งวงกลม (Semicircular ducts)
หูที่รับรู้การเคลื่อนไหวตามแนว xy คือ
Saccule (แกน Y)
Utricle (แกน X)
การได้กลิ่น (Smell)
อวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือ จมูก (Nose)
บริเวรโพรงจมูกส่วนบนเรียกว่า Olfactory epithelium
Olfactory receptor cells
Supporting epithelial cells
Basal cells
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับกลิ่น คือ Amygdala