Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 - Coggle Diagram
ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21
ปัญหาในการพัฒนาหลักสูตร
ปัญหาด้านงบประมาณ
ปัญหาด้านบุคลากร
ปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์
ปัญหาด้านการบริหารจัดการ
แนวคิดหลักของศตวรรษที่ 21
มุมมองโลกในศตวรรษที่ 21
โลกเทคโนโลยี (Technologicalization)
เศรษฐกิจการค้า (Commercialization & Economy)
โลกาภิวัตน์กับเครือข่าย (Globalization and Network)
สิ่งแวดล้อมและพลังงาน (Environment & Energy)
ความเป็นเมือง (Urbanization)
คนจะอายุยืนขึ้น (Ageing & Health)
การอยู่กับตัวเอง (Individualization)
มุมมองเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21
ทักษะทางด้านเทคโนโลยี (Computing and ICT Literacy)
ความสนใจใคร่รู้และมีจินตนาการ (Curiosity and Imagination)
การคิดวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)
ความคิดสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรม (Creating and Innovation)
ทักษะในการสื่อสารและร่วมมือกัน (Communication and Collaboration)
การคิดในเชิงธุรกิจและทักษะประกอบการ (Corporate and Entrepreneurial Spirit)
ทักษะการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมและการสนใจต่อโลก (Cross-Cultural & Awareness)
แนวคิดการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21
ความคาดหวังของสังคมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การรู้พื้นฐานในยุคดิจิตัล (Digital-age Literacy)
การคิดเชิงประดิษฐ์สร้างสรรค์ (Inventive Thinking)
การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication)
ประสิทธิภาพการผลิตในระดับสูง (High Productivity)
กรอบความคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21
กรอบความคิดแนวการจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของภาคี เพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาเรียนรู้ที่ครบวงจร และผลลัพธ
กรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาพการศึกษาไทยในอนาคต
กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาในเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ
การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ต้องคานึงถึงการพัฒนาให้ประชากรของโลกมีความสามารถใน การแข่งขัน โดยความสาเร็จของประชากรที่เกิดขึ้นมีปัจจัยมาจากการมีความรู้และทักษะที่สำคัญ และมี การจัดการศึกษาที่มุ่งผสมผสานวิชาแกนกับแนวคิดสาคัญต่าง ๆ ของศตวรรษที่ 21 และทักษะต่าง ๆ
ภาพรวมของศตวรรษที่ 21 กับแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตร
ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21
ในด้านการสร้างหรือการปรับปรุงหลักสูตร
ปัจจัยพื้นฐานในการสร้างและปรับปรุงหลักสูตรและการนาหลักสูตรไปใช้ ประกอบด้วย บริบทโลก แนวคิดพื้นฐานด้านการศึกษาของโลกตะวันตก และโลกตะวันออก
คุณลักษณะที่ต้องการเน้นให้เกิดในผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนมีความเป็นตัวของตัวเอง สามารถรับรู้ได้โดยไม่จากัด ไม่ยืดติดกับทฤษฎีและมี เสรีภาพในการตัดสินใจ มีความสามารถในการสร้างความรอบรู้ด้วยตนเอง โดยบูรณาการกับประสบการณ์ ตรงที่ได้รับ
ในด้านการบริหารจัดการ ต้องใช้เทคโนโลยีเป็นฐานในการสร้างองค์ความรู้ การถ่ายทอด ความรู้ จัดเก็บความรู้ และสื่อสารความรู้
ในด้านการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรในขอบเขตด้านความรู้ที่ได้รับ
การประเมินหลักสูตรในขอบเขตด้านทักษะที่เกิดขึ้น
การประเมินหลักสูตรในขอบเขตด้านคุณลักษณะเฉพาะหรือคุณลักษณะชีวิตที่ต้องการเน้น
การพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21
แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรและการสอนในอนาคตของพระธรรมปิฎก
ด้านการสร้างและปรับปรุงหลักสูตร
ควรคานึงถึงการกาหนดกรอบของโครงสร้างเนื้อหาที่ ครอบคลุมองค์ประกอบทางการศึกษา 3 ด้าน ที่เรียกว่า ไตรสิกขา
ด้านการนาหลักสูตรไปใช้
ควรเน้นการสร้างความเข้าใจถึงการเรียนรู้ โดย การปฏิบัติจริง
แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่วิเคราะห์จากพระราชดารัสเกี่ยวกับการศึกษา เนื้อหาสาระการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้
ด้านการสร้างและปรับปรุงหลักสูตร
ความรู้ทางวิชาการ
ทักษะการคิด
คุณธรรม
ด้านการนำหลักสูตรไปใช้
การเรียนรู้จาก การปฏิบัติฝึกฝนจนเกิดความชานาญ
เป็นการเรียนรู้ที่อาศัยการขบคิดพิจารณา
แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรในอนาคตของ ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดทิศทางการศึกษา
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาค
กระแสโลกาภิวัตน์ที่มีอิทธิพลต่อสังคมโลกและสังคมไทย
การเสริมสร้างปัจจัยเพื่อการแข่งขันในระดับโลก
การสร้างคุณภาพของประชากรและกำลังคน
การสร้างขีดความสามารถในการจัดการ
การมีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์เพียงพอในการตัดสินใจ
การมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถพึ่งตนเองได้
แนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร
การศึกษาจะต้องเป็นการศึกษาตลอดชีวิต
การศึกษาเป็นการศึกษาสาหรับทุกคน
การศึกษาเพื่อพัฒนาค่านิยม
แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรในอนาคตของ ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
ขั้นที่ 1 การศึกษาเพื่ออัตตา
การศึกษาเล่าเรียนวิชาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ
ขั้นที่ 2 การศึกษาเพื่อชีวา
การศึกษาที่มุ่งสร้างลักษณะชีวิตที่ดีงาม และคนที่สมบูรณ์แบบ ตั้งมั่นอยู่ใน หลักคุณธรรมจริยธรรมและมีความเข้าใจในความเป็นมนุษย์อย่างถูกต้อง
ขั้นที่ 3 การศึกษาเพื่อปวงชน
การศึกษาเพื่อยกระดับจิตใจผู้เรียนให้สูงขึ้น ปลดปล่อยความเห็นแก่ตัว เสียสละ และสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมมากขึ้น