Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 หม้อต้มที่ใช้ของเหลว เป็นสื่อนำความร้อนและหม้อน้ำร้อน - Coggle…
บทที่ 8 หม้อต้มที่ใช้ของเหลว
เป็นสื่อนำความร้อนและหม้อน้ำร้อน
8.1 หม้อต้มน้ำมัน
8.1.1 ข้อดีและข้อเสียของหม้อต้มน้ำมันเมื่อเทียบกับหม้อไอน้ำ
ข้อดี
อันตรายจากการระเบิดมีน้อย
อุณหภูมิใช้งานสูงกว่า แต่ความดันต่ำ
ไม่ต้องมีระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำ
ความสิ้นเปลืองขณะเดินเครื่องน้อยกว่า
มีปัญหาเรื่องการกัดกร่อนน้อยกว่า
ใช้งานง่าย สะดวก รวดเร็ว
ราคาก่อสร้างทั้งระบบถูกกว่า
ข้อเสีย
ถ้ามีการรั่วไหลของน้ำมันร้อน ท่อในระบบที่ทำงานร่วมกันทั้งหมดและผลิตภัณฑืเกิดการปนเปื้อน
ราคาน้ำมันร้อนที่ใช้ในระบบมีราคาสูง
ความจุความร้อนของน้ำมันร้อนมีค่าต่ำกว่าความร้อนแฝงของไอน้ำ
การซ่อมแซมระบบท่อยุ่งยาก
มีโอกาสเกิดเพลิงไหม้สูง
ต้องนำน้ำมันร้อนในระบบไปตรวจสอบคุณภาพทุก 6 เดือน
มีข้อจำกัดในการนำไปใช้งานมากกว่า
8.1.2 ระบบหลักการทำงานของหม้อต้มน้ำ และระบบท่อน้ำมัน
ระบบเปิด
ความดันน้ำมันในระบบเปิดจะเท่ากับความดันบรรยากาศที่ถังรับการขยายตัว ซึ่งมีความดันต่ำ
ระบบปิด
จะมีความดันสูง เพราะไม่มีท่อสำหรับระบายออกสู่บรรยากาศ
8.1.3 หลักการทำงานของหม้อต้มน้ำและระบบท่อน้ำมัน
โครงสร้างภายนอกโดยทั่วไปเหมือนกันมาก แต่หม้อต้มน้ำมันจะใช้
เกจวัดอุณหภูมิกับเกจวัดความดันควบคู่กัน
8.1.4 การทำงานของหม้อต้มน้ำมัน
ความร้อนจากการเผาไหม้จะถ่ายเทให้กับน้ำมันภายใน
ขดท่อน้ำมันร้อน ทำให้น้ำมันได้รับความร้อนสูงขึ้น จากนั้น
จะเคลื่อนที่จากหม้อต้มน้ำมันออกสู่ท่อน้ำมันภายนอก
8.1.5 ส่วนประกอบและอุปรร์ต่างๆของหม้อต้มน้ำมัน
ห้องเผาไหม้
หม้อต้มน้ำมัน
ระบบท่อน้ำมัน
อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
ปั๊มเวียนน้ำมัน
ถังไล่อากาศ
ถังรับการขยายตัว
ถังเก็บน้ำมัน
เกจวัดอุณหภูมิ
เกจวัดความดัน
ลิ้นนิรภัย
อุปกรณ์ตรวจสอบการไหลของน้ำมัน
อุปกรณ์ควบคุมน้ำมัน
อุปกรร์ควบคุมอุณหภูมิปล่องไฟ
ฝานิรภัย
8.1.6 ของเหลวที่ใช้เป็นสื่อนำความร้อน/น้ำมัน
น้ำมันจากปิโตรเลียม
ของเหลวสังเคราะห์
ของเหลวซิลิโคน
8.1.7 ปัญหาและการป้องกันอันตรายจากการใช้หม้อต้มน้ำมัน
น้ำมันในระบบมีอุณหภูมิสูงกว่าที่ใช้งานตามปกติ
วิธีการแก้ไข
ตรวจสอบการทำงานของปั๊มน้ำมันสม่ำเสมอ
ล้างไส้กรองน้ำมันเป็นระยะๆ
ควรติดตั้งสัญญาณเตือน
น้ำมันในระบบเกิดการขยายตัวล้นถังรับการขยายตัว
วิธีการแก้ไข
ติดตั้งปั๊มน้ำมันที่ขับด้วยเครื่องยนต์ดีเซลหรือเบนซินสำรองไว้
ติดตั้งสัญญาณเตือนอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าดับ
ติดตั้งระบบการทำงานอัตโนมัติ
ตรวจสอบแบตเตอรี่และทดสอบการทำงานของเครื่องยนต์เป็นระยะ
ความดันน้ำมันในระบบสูงหรือต่ำกว่าที่ใช้งานปกติ
วิธีการแก้ไข
ต้องล้างทำความสะอาดระบบท่อน้ำมันด้วยน้ำยาเคมี
ติดตั้งลิ้นนิรภัย ปรับตั้งความดันให้เหมาะสม
ทำความสะอาดไส้กรองน้ำมันสม่ำเสมอ
ตรวจสอบการรั่วของระบบท่อน้ำมัน
ขดท่อน้ำมันที่อยู่ในหม้อต้มน้ำมันรั่ว แตก ยุบตัว
วิธีการแก้ไข
ใช้ขดท่อน้ำมันที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ
ใช้วิศวกรออกแบบการติดตั้ง
ใช้น้ำยาเคมีล้างขดท่อน้ำมัน
ตรวจสอบทุกๆ 6 เดือน
8.1.8 การเกิดอุบัติเหตุของหม้อไอน้ำ
พบว่าข้อต่อรับการขยายตัวและระบบท่อส่งน้ำมันร้อนแตก ทำให้น้ำมันร้อนภายในท่อที่มีอุณหภูมิสูงรั่วไหลออกมาสัมผัสกับวัสดุที่ติดไฟได้บริเวณใกล้เคียง จึงเกิดไฟไหม้ลุกลามอย่างรวดเร็ว
8.2 หม้อน้ำร้อน
8.2.1 หม้อน้ำร้อน
ตัวหม้อน้ำร้อนจะต้องออกแบบและสร้างตาม มาตรฐานเช่นเดียวกับหม้อไอน้ำหรือหม้อต้มน้ำมัน
8.2.2 อุปกรร์ควบคุมหม้อน้ำร้อน ประกอบด้วย
เทอรฺโมมิเตอร์น้ำร้อน
เกจวัดความดัน
เทอร์โมสตัตควบคุมอุณหภูมิน้ำร้อน
เทอร์โมสตัตช่วยควบคุมอุณหภูมิน้ำร้อน
เทอร์โมสตัตเร่งหรี่เครื่อง
อุปกรร์ป้องกันน้ำแห้ง
วาล์วนิรภัย
8.2.3 ระบบท่อน้ำร้อน
วงจรระบบท่อน้ำร้อน
วงจรแรกเป็นระบบปิดที่ผลิตความร้อนโดยที่หม้อน้ำร้อนจะต้มน้ำร้อน และปั๊มน้ำหมุนเวียน
วงจรที่สองจะเป็นน้ำส่วนที่นำออกไปใช้งาน โดยน้ำจะได้รับความร้อนจากเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน แล้วส่งออกไปยังจุดใช้งาน