Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคข้อเข่าเสื่อม ( Osteoarthritis of the Knee), นางสาวกรดารัตน์ เกื้อทาน…
โรคข้อเข่าเสื่อม ( Osteoarthritis of the Knee)
อาการและอาการแสดง
อาการโรคขอเข้าเสื่อม
อาการปวด
ลักษณะปวดตื้อๆ ทั่วๆ ไปบริเวณข้อ
ไม่สามารถระบุตำแหน่งชัดเจนได้และมัก
ปวดเรื้อรัง
อาการปวดจะมากขึ้นเมื่อมีการใช้งาน หรือลงน้ำหนักลงบนข้อนั้นๆ และจะทุเลาลงเมื่อพัก
ข้อฝืด (stiffness)
พบได้บ่อยจะมีการฝืดของข้อในช่วงเช้า และช่วงหลังจากการพักข้อนานๆเช่นหลังจากตื่นนอนหรือนั่งนานๆ แต่มักไม่เกิน 30 นาที
พบอาการฝืดเกิดขึ้นชั่วคราวในท่างอ หรือ
เหยรยดข้อในช่วงแรกที่เรียกว่าปรากฏการณข้อฝืด(gelling phenomenon)
อาการแสดงของข้อเข่าเสื่อม
ระยะแรกอาจมีอาการข้อเข่าบวมเล็กน้อและข้อฝืด
ระยะท้ายข้อบวมและผิดรูป (swelling and deformity) เป็
นลักษณะข้อเข่าโก่ง (bow legs) หรือข้อเข่าฉิ่ง (knock knee)
ข้อเท้าบวมเป็นการบวมจากกระดูกงอก(osteophyte)และ/หรอมื ของเหลวในข้อ(effusion)
มีการสูญเสียการเคลื่อนไหวและการทำงานของข้อข้อเข่าเหยียดและ /หรืองอไม่สุดกล้ามเนื้อรอบหัวเข่าอ่อนแรง
เดินไม่สะดวก อาจมีเสียงดังกรอบแกรบ (crepitus) ในข้อขณะเคลื่อนไหว
ปัจจัยเสี่ยง
1.อายุ
2.โรคเมตาบอลิค (metabolic) เชน่ โรคเกาท์โรคเกาท๊ เท์ ยมี โรค hemochromatosis
3.โรคข้อที่มีการอักเสบ (inflammatory joint disease)
ความอ้วน
ปัจจัยการรับแรงกระทำที่ข้อเข่าเบี่ยงเบนไป(adverse mechanical factors)เช่นการใช้งานมากเกินไปทำให้แนวเข่าโก่งงอกว่าปกติ การได้รับบาดเจ็บท่ข้อ
พันธุกรรม (heredity)
กีฬาและการออกกำลัง ประเภทที่เสี่ยง
สาเหตุ
ความเสื่อมแบบปฐมภูมิหรือไม่ทราบสาเหตุเป็นภาวะที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของผิวกระดูกอ่อนตามวัย
ความเสื่อมแบบทุติยภูมิเป็นความเสื่อมที่ทราบสาเหตุ
เคยประสบอุบัติเหตุมีการบาดเจ็บที่ข้อ เส้นเอ็น
การบาดเจ็บเรื้อรังที่บริเวณข้อเข่าจากการทำงานหรือการเล่นกีฬา
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เกาต์ ข้ออักเสบติดเชื้อโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น อ้วน
การตรวจรางกาย
น้ำหนัก สวนสูง ดัชนีมวลร่างกาย (Body Mass Index, BMI)
ความดันโลหิตเพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการใช้ยา
ลักษณะการเดิน (gait)
ข้อบวมและข้อผิดรูปกล้ามเนื้อต้นขาลีบ
จุดกดเจ็บด้านในของข้อเข่าการหนาตัวของเยื่อบุข้อปริมาณของเหลวในข้อกระดูกงอกหนา
ลักษณะที่แสดงถึงการอักเสบคือ บวม แดง ร้อน
เสียงดังกรอบแกรบ (crepitus) ในข้อขณะเคลื่อนไหว
พสิยการเคลื่อนไหว(range of motion) ลดลง
มีความไม่มั่นคงของข้อ (joint instability)สังเกตจากการโก่งงอของข้อขณะยืน/เดิน
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการทั่วไปเช่น เลือด และปัสสาวะอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การตรวจของเหลวในข้อส่วนใหญ่ไม่พบความผิดปกติจำนวนเม็ดเลือดขาวในของเหลวในข้ออยู่ในเกณฑ์ปกติ (0-200 เซลล์/ลบ.มม.)
การตรวจภาพรังสี
การรกษา
การวางแผนการรักษาขึ้นกับปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วยแต่ละรายตามความรุนแรงของอาการและการแสดงcomorbidity ของผู้ป่วย
การรักษาโดยวิธีไม่ใช้ยา
การให้ความรู้เรื่องข้อเข่าเสื่อม
การออกกำลังและการบริหารกล้ามเนื้อรอบเข่า
การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยต่างๆ
การลดน้ำหนัก
กาารใช้วิธีอื่นๆไดแก้ ่ เลเซอร Transcutaneus electrical nerve stimulation (TENS) การฝังเข็ม การใช้ความร้อน
การรักษาโดยยา
พิจารณายาพาราเซตตามอลชนิดกินเป็นอันดับแรก
ยาทาเฉพาะที่ประเภท NSAIDs (diclofenac, ketoprofen, piroxicam)และเจลพริก (capsaicin)มีผลดีพอควรและปลอดภัยพิจารณาให้ยาทาเป็นยาเสริมยาตัวอื่นหรือให้เดี่ยวๆในกรณีที่กินยาไม่ได้ผลและไม่ต้องการยาฉีด
ยากลุ่ม NSAIDs เมื่อผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาพาราเซตตามอลในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อระบบทางเดนอาหารให้พิจารณา non selective NSAIDs ร่วมกับสารปัองกันกระเพาะอาหาร(gastroprotectiveagents)
ยาแกปวดจำพวก ้ tramadol HCl, opioid ที่มีหรือไม่มี พาราเซตตามอลผสมในผู้ป่วยที่มีข้อห้ามในการใช้ยาNSAIDs, coxibs,ใช้ยากลุ่มNSAIDs, coxibsไม่ได้ผล,ไม่สามารถทนต่อยา ่ NSAIDs, coxibs
5.ยากลุ่ม SYSADOA (symptomatic slow acting drugs for OA)สามารถลดอาการปวดและอาจเปลี่ยนโครงสร้างกระดูกอ่อนข้อต่อ
พิจารณาฉีด steroid เข้าข้อในกรณีที่การอักเสบของเข่ากำเริบ
นางสาวกรดารัตน์ เกื้อทาน 62180041013เลขที่97