Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารของเซลล์เเละการรักษาดุลยภาพ ของมนุยษ์, หน่วยไต (Nephrons),…
การลำเลียงสารของเซลล์เเละการรักษาดุลยภาพ
ของมนุยษ์
การลำเลียงสารของเซลล์
การลำเลียงนํ้า
การลำเลียงนํ้าจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู้รากพืช
สารละลายในดินมีความเข้มข้นตํ่ากว่าในราก ทำให้นํ้าในดินจึงเคลื่อนที่เข้าสู่รากพืช
การลำเลียงนํ้าเข้าสู่ไซเล็ม
ซิมพลาสต์
ลำเลียงจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งผ่านพลาสโมเดสมาตา มีสายไซโทพลาซึมเชื่อมต่อ 2 เซลล์ติดกัน ซึ่งนํ้าเข้าเอนโดเดอร์มิสผ่านพลาสโมเดสมาตาและเข้าสู่ไซเล็ม
อโพพลาสต์
ไม่ผ่านเข้าสู่เซลล์ เเต่เคลื่อนที่ไปตามผนังเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์ ลำเลียงจนถึงเอนโดเดอร์มิสมีเเถบแคสพาเรียน นํ้าไม่สามารถผ่านผนังเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์อโพพลาสต์ได้
ทรานส์เมมเบรน
ลำเลียงจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงนํ้าภายในไซเล็ม
ซึมตามรู้เล็ก
การเคลื่อนที่ของนํ้าเกิดจากเเรงโคฮีชัน ร่วมกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลนนํ้ากับผนังของหลอดหรือแรงแอดฮีชัน
เเรงดึงจากการคายนํ้า
เมื่อปากใบเปิดจะสูญเสียนํ้าในรูปไอนํ้า เรียกว่า การคายนํ้า ไอนํ้าจากช่องอากาศจะเเพร่ออกทางรูปากใบ นํ้าจากสปองจีมีโซฟิลล์จะระเหยออกสู่ช่องอากาศภายในใบทำให้นํ้าในสปองจีมีโซฟิลล์ลดลง ทำให้นํ้าจากเซลล์ใกล้เคียงถูกดึงเข้ามาแทนรวมถึงไซเล็ม ด้วยเเรงโคฮีชัน
เเรงดันราก
เมื่อนํ้าในดินมีมากจะเคลื่อนที่เข้าสู่ราก ทำให้รากมีความดันเพิ่มขึ้น เกิดเเรงดันราก ดันให้นํ้าพุ่งขึ้นด้านบนไปตามไซเล็ม จนออกมาทางรูหยาดนํ้า ปลายสุดของไซเล็ม ออกมาในรูปของหยดนํ้า
การลำเลียงธาตุอาหาร
ความสำคัญของธาตุอาหาร
ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดนเจน ออกซิเจนออ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพเเทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และกำมะถัน
ธาตุอาหารรอง ได้แก่ เหล็ก โบรอน ทองแดง สังกะสี แมงกานีส โมลิบเดียม คลอไรด์
การเคลื่อนที่ของธาตุอาหารเข้าสู่พืช
ใช้พลังงาน - ลำเลียงจากบริเวณที่มีความเข้มข้นตํ่ากว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงกว่า
ไม่ใช้พลังงาน - ลำเลียงจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นตํ่ากว่า
การเเลกเปลี่ยนแก๊สเเละการคายนํ้า
กลไกการเปิดปิดของปากใบ
ปากใบเปิด - โดยแสงกระตุ้นทำให้ (K+) เข้าสู่ไซโทพลาสซึม เเละเพิ่มจำนวนของ (K+) ในไซโทพลาสซึม ทำให้นํ้าข้างเคียงออสโมซิส เข้าสู้เซลล์คุ้มทำให้เซลล์คุ้มเต่งปากใบจึงเปิดออก
ปากใบปิด - เมื่อเวลาเย็นซูโครสจะลดลง นํ้าในเซลล์คุ้มจึงเคลื่อนที่ออกไปยังเซลล์ข้างเคียงทำให้เซลล์คุ้มเหี่ยว ปากใบจึงปิด
การคายนํ้า
ความเข้มแสง
ความเข้มแสงสูงปากใบจะเปิดกกว้าง ซึ่งความกว้างของรูปากใบมีความสัมพัทธ์กับการคายนํ้า เเต่เมื่อความเข้มแสงมากนํ้าในดินน้อยพืชจะเริ่มขาดเเคลนนํ้า ปากใบจะปิด ทำให้การคายนํ้าของพืชลดลง
อุณหภูมิ
รูปากใบเปิดเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จะทำให้ความชื้นสัมพัทธ์ลดลง ไอนํ้าแพร่ออกจากรูปากใบเร็วขึ้น การคายนํ้าเพิ่มมากขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงรูปากใบจะปิด เพื่อป้องกันการสูญเสียนํ้า
ความชื้นสัมพัทธ์
ถ้าความชื้นในอากาศลดลงเกิดจากไอนํ้าในอากาศลดลง ทำให้ไอนํ้าในช่องอากาศของใบและในอากาศแตกต่างกัน ไอนํ้่จึงเเพร่ออกมากขึ้นและคายนํ้าเพิ่มขึ้น
ปริมาณนํ้าในดิน
การเปิดปิดของปากใบกับปริมาณนํ้าในดินมากกว่าปริมาณนํ้าในใบพืช เมื่อพืชไม่สามารถดูดนํ้าได้ตามปกติเเละเริ่มขาดนํ้า พืชจะสร้างกรดแอบไซซิก มีผลทำให้ปากใบเปิด การคายนํ้าของพืชลดลง
ลม
ความกดอากาศบนผิวใบลดลง ทำให้ระเหยออกสู่อากาศมากขึ้น เเละเมื่อลมเคลื่อนที่จะเกิดการระเหยมากขึ้น
การแลกเปลี่ยนเเก๊ส
ราก - แลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างขนราก
ปากใบ - แลกเปลี่ยนแก๊สทางปากใบนำออกซิเจนออกและรับคาร์บอนไดออกไซด์เข้ามาแทน หรือนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกแล้วนำออกซิเจนเข้า
เลนติเซน - มีรอยเเตกตามลำต้นการแลกเปลี่ยนแก๊สน้อย เพราะลำต้นเเข็งเเรง ชั้นคิวทินเคิลหนา
การลำเลียงอาหาร
การเคลื่อนย้ายอาหารของพืช
อาหารถูกลำเลียงไปตามโฟลเอ็ม เพื่อนำไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของพืชที่กำลังเจริญเติบโต เช่น ปลายยอด ปลายราก หรือเก็บสะสมอาหาร
กลไกการลำเลียงอาหาร
การรักษาดุลยภาพ
ของมนุยษ์
การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
อาศัยการทำงานของไตที่มีหน่วยไตทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดและดูดกลับสารที่มีประโยชน์
hypothalamus
ศูนย์ควบคุมสมดุลน้ำและแร่ธาตุ
ความดันเลือดต่ำ
ภาวะขาดน้ำ
ความดันเลือดสูง
ดื่มน้ำมาก
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
หลั่งADHน้อย
ท่อหน่วยไตไม่ดูดน้ำกลับ
หลั่งADHมาก
ท่อหน่วยไตดูดน้ำกลับ
การทำงานของไต
Renal Artery
Glomerulus
Bowman's capsule
Proximal tubule
Henle's loop
Distal tubule
1 more item...
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย
อาศัยการทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และกล้ามเนื้อโครงร่าง ซึ่งมีศูนย์ควบคุมอยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสที่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณไปกระตุ้นหรือยับยั้งกระบวนการเมแทบอลิซึมต่าง ๆ
hypothalamus
อุณหภูมิในเลือด น้อยกว่า 37 ํC
อากาศเย็น
อุณหภูมิในเลือด มากกว่า 37 ํC
อากาศร้อน
เมทาบอลิซึมต่ำลง
ขับเหงื่อสูงขึ้น ADHสูงขึ้น
ปัสสาวะต่ำลง
หลอดเลือดขยายตัว
ขนเอนราด
เมทาบอลิซึมสูงชึ้น
ขับเหงื่อต่ำลง ADH ต่ำลง
ปัสสาวะสูงขึ้น
หลอดเลือดหดตัว
ขนลุก / ร่างการสั่น
อุณหภูมิร่างกายปกติประมาณ 37ํ ํC
การรักษาดุลยภาพของดกรด-เบสในร่างกาย
อาศัยการทำงานของปอด โดยการกำจัด CO2 จากการหายใจออก เพื่อลดปริมาณ H+ ในเลือด รวมทั้งการขับ/ดูดกลับสารและไอออนต่าง ๆ ที่หน่วยไต ซึ่งมีผลต่อความเป็นกรด-เบสของเลือด
โดยการทำงานของไต หน่วยไตจะขับสารที่มีส่วนประกอบของไฮโดรเจนไอออน และแอมโมเนียไอออน ออกจากเลือด และเพิ่มการดูดกลับไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน เพื่อลดความเป็นกรดของเลือด
โดยปอด ปรับ ph ด้วยการกระตุ้นอัตราการหายใจ เพื่อกำจัด co2 ในเลือดให้ลลดลง
กระบวนการหายใจทำให้เกิด co2 เมื่อรวมกับน้ำในเลือดเกิดเป็น H2CO3 และแตกตัวเป็น H+ และHCO3-
ค่า ph ในเลือดต่ำลง
เลือดเป็นกรด
ไตขับ H+ ทิ้ง
หน่วยไต (Nephrons)
ท่อหน่วยไต