Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Post Covid – 19 With Pneumonia, ดาวน์โหลด, นางสาวพีรดา มากมี,…
Post Covid – 19 With Pneumonia
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 67 ปี
เตียงที่: 9 โรงพยาบาล: สิงห์บุรี
ประวัติการเจ็บป่วย
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
15:48 น. รับ Refer จากโรงพยาบาลท่าช้าง มีไข้ มีอาการไอ หายใจหอบเหนื่อย 3 วันก่อนมา O2 Sat 94 %
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
3 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วย Covid-19 Admit ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 64 วันนี้มีอาการเหนื่อย RA sat 90-91 % O2 Mask C bag และ Refer มาโรงพยาบาลสิงห์บุรี
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เป็นความดันโลหิตสูงมา 6 ปี
เป็นโรคเบาหวานมา 6 ปี
เป็นโรคไขมันในเลือดมา 6 ปี
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว
อาการและอาการแสดง
ไอมีเสมหะ
เจ็บหน้าอกขณะหายใจหรือไอ
หายใจเร็ว หายใจหอบ หายใจลำบาก
มีไข้ เหงื่อออก หนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสีย
อ่อนเพลีย
อาการของผู้ป่วย
ไอมีเสมหะ
ไอแห้งๆ
อ่อนเพลีย
หายใจหอบ หายใจลำบาก
ภาวะแทรกซ้อน
การวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้องรวดเร็ว จะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนของปอดอักเสบได้ การเกิดภาวะแทรกซ้อนทำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ภาวะแทรกซ้อนจะเกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อนที่พบ ได้แก่
ปอดบวมน้ำหรือมีเลือดคั่งในปอด
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีน้ำและไม่มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
มีการติดเชื้อของไต เยื่อบุช่องท้องอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ เชื่อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบเป็นหนองการติดเชื้อในอวัยวะเหล่านี้เกิดจากมีการติดเชื้อในกระแสโลหิต ทำให้เกิดพิษของแบคที่เรียกระจายไปสู่อวัยวะอื่นๆ
หูชั้นกลางอักเสบและ โพรงอากาศอักเสบ
ช็อคจากการติดเชื้อ
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยปอดอักเสบ มีการติดเชื้อในทางเดินหายใจ เชื้อที่ในอยู่เสมหะ หรือเมือกในทางเดินหายใจส่วนต้น จะแพร่เข้าสู่ถุงลมซึ่งภายในถุงลมจะมีกลไกการป้องกัน ตามปกติของร่างกาย เช่น การโบกปัดของซิเลียและการไอเพื่อขจัดเชื้อในเสมหะ หรือเมือกออกไป ขณะเดียวกันแมคโครฟาจจะทำลายเชื้อโรคที่อยู่ในถุงลม และซิเลียจะโบกปัดขับออกโดยการไอเพื่อขับเชื้อออกทางเสมหะหรือกลืนลงสู่กระเพาะอาหาร แต่ถ้าร่างกายไม่มีกลไกดังกล่าว ปอดจะมีการอักเสบโดยมีการสร้างน้ำและเมือกเพิ่มขึ้น บริเวณถุงลมและไหลเข้าสู่หลอดลมฝอยทำให้เนื้อที่ในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง และยังมีการขจัดเชื้อโรคออกไปยังต่อมน้ำเหลืองและกระแสเลือด เพื่อขจัดออกจากร่างกาย ซึ่งจะมีเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงมารวมตัวบริเวณที่มีการอักเสบมากขึ้น ทำให้บริเวณถุงลมแคบลงและมีลักษณะแข็ง น้ำและเมือกที่ติดเชื้อจะแพร่กระจายไปยังปอดส่วนอื่น ทำให้ผู้ป่วยมีไข้ ไอ อาจมีเสมหะร่วมด้วยซึ่งขึ้นอยู่กับสาเหตุของปอดอักเสบ หากปอดอักเสบรุนแรงอาจถึงแก่ชีวิตได้โดยเฉพาะผู้สูงอายุ
การรักษา
VITAMIN D2 20,000
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เฉพาะวันพุธ
Dexamethasone_Phenodex inj. 8 mg/2ml V
10 mg IV q 12 hr
CALCIUM CARBONATE TAB 600 mg. เม็ด
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหาร เช้า
AMLOdipine (AMLOASC 5)
5 mg. tablet
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า-เย็น
METFORMIN (MIFORMIN) 500 TABL
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น
Omeprazole Cap (GPO) 20 mg. แค็บซูล รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าครึ่งชั่วโมง
ACETYLCYSTEINE (Fluimucll-MUCOMAC)
1 ซองผสมน้ำ 1 แก้วดื่ม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
On mask with bag 10 LPM
ปัญหาสุขภาพ
ปัญหาที่ 1 ไม่สุขสบายเนื่องจากมีไข้ BT = 38.2 C◦
ปัญหาที่ 2 เกิดการติดเชื้อที่ปอด เนื่องจากปอดอักเสบ
ปัญหาที่ 3 เสี่ยงต่อการได้รับอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากกลืนอาหารลำบาก
ปัญหาที่ 4 ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการท้องผูก
ปัญหาที่ 5 เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อย
ปัญหาที่ 6 ความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูง
ปัญหาที่ 7 มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการรักษา
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Neutrophils 91.1 % สูงกว่าปกติ
Lymphocytes 5.8 % ต่ำกว่าปกติ
Monocytes 1.7% ต่ำกว่าปกติ
Basophil 0.0
R.B.C. Count 3.70 ×10ˆ6/ul
Hemoglobin10.2 gm/dl
Hematocrit 31.8 % ต่ำ
Creatinine 0.40 mg/dl ต่ำ
Sodium (Na) 131 mg/dl ต่ำ
Chloride (Cl) 92 mmol/L ต่ำ
นางสาวพีรดา มากมี
คณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยปทุมธานี
วิชา ปฏิบัติการผู้ใหญ่ 2