กรณีศึกษา การอนุญาติประกอบกิจการสถานประกอบการจำหน่ายอาหารและสะสมอาหาร ในเทศบาลที่ได้รับรางวัลดีเด่น เขตบริการสุขภาพที่ 5 จังหวัดสุพรรณบุรี

ความสำเร็จในการบังคับใช้กฎหมาย

ผลการวิเคราะห์

ส่วนที่ 3
การขอและออกใบอนุญาตประกอบกิจการของสถานประกอบการจำหน่ายอาหารและสถานประกอบการสะสมอาหาร

1.สุขาภิบาลอาหารเรื่องของการออกใบอนุญาต

การดำเนินการขอและออกใบอนุญาต กรณียื่นขอใบอนุญาต มีขั้นตอน ดังนี้

ความเป็นมา

ผู้ประกอบการจะต้องยื่นเอกสารรับคำขออนุญาตประกอบกิจการ

มีการตรวจสอบเอกสารที่ผู้ประกอบการยื่นโดยเจ้าหน้าที่เทศบาลว่าเอกสารครบหรือไม่ มีส่วนใดต้องแก้ไข ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 15 วันนับจากวันที่ได้รับคำขอ

ประมาณปี 2537 เริ่มเข้ามาทำโครงการ ตอนนั้นทางเทศบาล ยังไม่ค่อยรู้เรื่องกฎหมาย รู้แค่เรื่องกวาดถนน จัดการขยะ ระบายน้ำฯ เริ่มจากทางหน่วยงานสาธารณสุขจังหวัด และทางโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช เข้ามาประสานงานในฐานะหน่วยงานสาธารณสุขที่รับผิดชอบพื้นที่ แต่ตอนนั้นยังไม่รู้จะตอบยังไงเพราะยังไม่รู้บทบาทหน้าที่ในการจัดการเรื่องสุขาภิบาลอาหาร เราแค่ปฏิบัติงานตามปัญหาท้องถิ่นแต่ใน บทบาทของเราตามที่กฎหมายสาธารณสุขที่เขียนไว้เป็นเรื่องใหม่ ท้องถิ่นเองน้อยมากที่จะรู้เรื่องกฎหมาย เราจึงได้ลองเปิดใจทำงานว่าเป็นภาระหรือปัญหาของเราหรือไม่ และเราเองมีบทบาท หน้าที่ในเรื่องนี้อย่างไร

ตรวจสุขลักษณะสถานประกอบกิจการ โดยในการตรวจสุขลักษณะจะต้อง ลงพื้นที่ตรวจ
สุขลักษณะตามแบบที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดและมีการถ่ายรูปเป็นหลักฐาน

จึงทำให้เกิดการแก้กฎหมายที่ล้าหลังซึ่งออกมาตั้งแต่พ.ศ.2528

นำข้อมูลที่ได้ เสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาการออกใบอนุญาต

คณะกรรมการพิจารณาเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย หรือควรมีการปรับปรุงแก้ไขส่วนใด ทางคณะกรรมการจะแจ้งให้ผู้ประกอบการ และเมื่อมีการแก้ไขถูกต้องเรียบร้อยแล้วให้ถือว่า
เห็นชอบสามารถออกใบอนุญาตได้

วัตถุประสงค์การศึกษา

1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี

2) วิเคราะห์ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จในการบังคับใช้กฎหมาย และแนวทางการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายเรื่องการอนุญาตประกอบกิจการสถานประกอบการจำหน่ายและสะสมอาหาร

3) ถอดบทเรียน เพื่อเป็นต้นแบบในการบังคับใช้กฎหมาย และ การสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ในการพัฒนา เทศบาลอื่นๆ

อ.เฉลิมชาติ ได้มาอธิบายว่าเราจะใช้มาตรการกฎหมายในการดำเนินงานในด้านกับผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร ร้านอาหารแผงลอย ในเขตเทศบาล และจะใช้กระบวนการทางกฎหมายอย่างไร ให้เป็นขั้นตอน มี ความนุ่มนวล เพื่อให้เกิดผลที่ชัดเจนและได้รับความร่วมมือ


  • ดังนั้นจึงได้ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการยกร่างกฎหมาย การประชาสัมพันธ์ มีการส่งจดหมายแจ้งเตือน มีการตักเตือน


  • จนสุดท้าย หากประชาชนไม่ให้ความร่วมมือจึงจะถึงขั้นดำเนินการ เปรียบเทียบปรับ หรือจับกุม เป็นต้น

วิธีการศึกษา

เมื่อทุกฝ่ายเห็นชอบ จึงดำเนินยกร่างกฏหมาย แล้วเชิญทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าประชุม

การดำเนินการขอและออกใบอนุญาต กรณีผู้ประกอบกิจการขอต่อใบอนุญาต มีขั้นตอน ดังนี้

ทีมผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งในการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ลงพื้นที่ในการเก็บข้อมูล
เก็บภาพเป็นหลักฐาน ก่อน 1 เดือน และนำเข้าสู่คณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ

สสจ. , สสอ. , ตำรวจ , ตัวแทนผู้ประกอบการร้านอาหาร , ตัวแทนร้านแผงลอย

เมื่อผู้ประกอบกิจการมาขอต่อใบอนุญาต ก็สามารถออกใบอนุญาตได้

การศึกษานี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่ง แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน

1.การทบทวนเอกสาร โดยมุ่งศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลที่ได้รับรางวัลดีเด่นในเขตบริการสุขภาพที่ 5 จังหวัดสุพรรณบุรี

เริ่มใช้

  1. การลงพื้นที่สำรวจและการสัมภาษณ์เชิงลึก

การดำเนินการขอและออกหนังสือรับรองการแจ้งกรณียื่นคำขอหนังสือรับรองการแจ้งมีขั้นตอน ดังนี้

เจ้าหน้าที่เริ่มลงพื้นที่ทำการสำรวจ
ร้านอาหารแผงลอยทั้งหมด

กลุ่มเป้าหมาย

  1. เทศบาลที่ได้รับรางวัลดีเด่นในเขตบริการสุขภาพที่ 5 จังหวัดสุพรรณบุรี
  1. นายกเทศมนตรี ผู้อำนวยการ
  1. ประชาชนในท้องถิ่นเขตเทศบาลที่ได้รับรางวัลดีเด่น

ผู้ประกอบการจะต้องยื่นเอกสารรับคำขออนุญาตประกอบกิจการ (แบบคำขอแจ้ง )

มีการตรวจสอบเอกสารที่ผู้ประกอบการยื่นโดยเจ้าหน้าที่เทศบาลว่าเอกสารครบหรือไม่มี ส่วนใดต้องแก้ไข ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 7 วันนับจากวันที่ได้รับคำขอ

ตรวจสุขลักษณะสถานประกอบกิจการ โดยในการตรวจสุขลักษณะจะต้อง ลงพื้นที่ตรวจสุขลักษณะตามแบบที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดและมีการถ่ายรูปเป็นหลักฐาน

นำข้อมูลที่ได้ เสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาการออกใบอนุญาต

คณะกรรมการพิจารณาเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย หรือควรมีการปรับปรุงแก้ไขส่วนใด ทางคณะกรรมการจะแจ้งให้ผู้ประกอบการ และเมื่อมีการแก้ไขถูกต้องเรียบร้อยแล้วให้ถือว่าเห็นชอบสามารถออกหนังสือรับรองการแจ้งได้

ขั้นตอนการดำเนินงาน

เกิดคำถาม ทำไมต้องทำตาม

จึงจัดอบรมขึ้น

  1. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลจากเอกสารและจัดทโครงการเพื่อขออนุมัติ
  1. ประชุมกลุ่มเพื่อกำหนดแนวทางและคำถามในการสัมภาษณ์
  1. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  1. ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล
  1. ดำเนินการสัมภาษณ์เชิงลึก
  1. วิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ สรุปปัญหา และข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
  1. นำเสนอโครงการ

อบรมให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ด้านกฎหมาย โดยเชิญผู้ประกอบการทั้งหมดทุกระดับมาประชุม

รอบแรก คนเข้าน้อย จึงบังคับหากไม่เข้าจะระงับการออกใบอนุญาต จึงทำให้คนเข้าประชุมเพิ่ม

การดำเนินการขอและออกหนังสือรับรองการแจ้ง
กรณีผู้ประกอบกิจการขอต่อใบอนุญาต มีขั้นตอนดังนี้

จากนั้นเมื่อการอบรมเสร็จสิ้น เราได้มีการรีวิว และเก็บตกทุกปี เนื่องจาก มีผู้ประกอบการ หรือลูกจ้างรายใหม่ตลอด จนถึงปัจจุบันยังดำเนินการอยู่

ทีมผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งในการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ลงพื้นที่ในการเก็บข้อมูล
เก็บภาพเป็นหลักฐาน ก่อน 1 เดือน และนำเข้าสู่คณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ

เกิดแนวคิดในวารสารเขียนคอลัมน์ กฏหมายน่ารู้น่ารัก
เผยแพร่ในวารสารชมรมร้านอาหาร แผงลอยย ต่างๆ

  • ชี้ให้เห็นถึงข้อดีการทำตาม
  • ชี้ให้เห็นข้อเสียของการไม่ทำตาม

สาระสำคัญนอกเหนือจากคลิป

การบังคับใช้กฏหมายในการออกใบอนุญาต

เมื่อผู้ประกอบกิจการมาขอต่อใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งได้เลย

ขั้นตอนการบังคับใช้กฎหมายในการออกใบอนุญาต หากใครไม่นำบัตรสีชมพูมา จะต้อง เข้าอบรมก่อน

ส่วนที่ 2
ปัจจัยการบริหารองค์กร

ร้านใดที่ไม่ผ่าน คณะกรรมการก็จะให้ไปแก้ไข โดย เจ้าหน้าที่ได้ให้ความรู้ พร้อมกับมีทีมงานลงพื้นที่ไปช่วย เช่น การทำบ่อดักไขมัน ที่ดูดควัน เป็นต้น ผลที่ได้จากกระบวนการนี้ทำให้เกิดการพัฒนาอย่างมาก คือ

  1. โปร่งใส
  2. สามารถตรวจสอบได้
  3. ประชาชนได้เห็นร้านดีๆและทำให้ประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้เรียนรู้กฎหมายไปพร้อมๆ
  4. เป็นการเชื่อมโยงระหว่างท้องถิ่น และผู้ประกอบการ

ถอดบทเรียนการดำเนินงาน

รูปแบบการดำเนินงาน "สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา"

การให้ความรู้ประชาชน
และผู้ประกอบการ

เทศบัญญัติตามกฎหมาย การสาธารณสุข

การประชาสัมพันธ์ และการบังคับใช้กฎเหมาย

ขับเคลื่อนทางกฎหมายอย่างยั่งยืน
โดยการสร้างภาคีเครือข่ายร่วมกันทุกภาคส่วน

ภาคประชาชน/ผู้ประกอบการ

ภาคราชการ

เทศบาล

จัดตั้งชมรมและสมาคม

ชมรมแผงลอย

ชมรมร้านอาหาร

ชมรมตลาดนัด

ชมรมตลาดสด

จนท.
จากรพ.สมเด็จพระยุพราช

ส่งเสริมให้ความรู้ประชาชน

จนท. สำนักสาธารณสุขอำเภอสุพรรณบุรี

จนท. สำนักสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

จัดทีมงานแต่ละ รพ.สต.ตรวจสอบสถานประกอบการ

จัดโครงการมหกรรมอาหาร
clean food good teats

ด้านกฎหมาย

ด้านสิ่งแวดล้อม

ด้านอาชีวอนามัย

ด้านสนับสนุนให้ความรู้ทางวิชาการ

จนท.เทศบาล

สำรวจพื้นที่ร้านประกอบการต่างๆก่อนต่อใบอนุญาตจัดเวทีคณะกรรมการ

  1. สาธารณสุขจังหวัดมีส่วนช่วยในการขับเคลื่อนการพิจารณาอนุญาต และรับรองการแจ้งกิจการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
    อย่างไร
  1. ทางสาธารณสุขอำเภอมีส่วนช่วยในการขับเคลื่อนการพิจารณาอนุญาต และรับรองการแจ้งกิจการตามพระราชบัญญัติการสาธารณ พ.ศ. 2535 อย่างไร
  1. โรงพยาบาลมีส่วนช่วยในการขับเคลื่อนการพิจารณาอนุญาตและรับรองการแจ้งกิจการพระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ. 2535 อย่างไร
  1. แนวทางการพัฒนาสู่ความยั่งยืน

6.ปัจจัยที่ทำให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆสามารถประสานงานกันทำงานร่วมกันได้อย่างกลมเกลียว

ส่วนใหญ่จะให้ความร่วมมือด้านวิชาการ เรื่องกฎหมายการประสานงานการให้ความรู้สู่ท้องถิ่น

มีส่วนร่วมส่งเจ้าหน้าที่ในการลงตรวจพื้นที่

มีมาตรการลดราคา สำหรับการตรวจสุขภาพลง 50% เพื่อชวนชวนให้มีผู้ประกอบการมาตรวจสุขภาพเพื่อขอรับใบรับรองแพทย์ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญ ประกอบการขออนุญาต

  • มีการอบรมพัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการทุกรายอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ที่ได้รับการอบรมแล้วจะได้รับเกียรติบัตรเพื่อนำไปยืนเป็นเอกสารหลักฐานประกอบการขออนุญาต
  • มีการทำโครงการ Clean food & Good taste ให้ประชาชนเข้าร่วมโครงการ มีกิจกรรมสำคัญต่างๆเช่น มหกรรมอาหาร การแข่งขันฟุตบอล กิจกรรมเหล่านี้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมจะมีข้อแม้ 3 ประการคือ
  1. ต้องมีใบอนุญาต
  2. ได้รับป้าย Clean food & Good taste
  3. จะต้องเป็นสมาชิกของชมรมอาหาร ชมรมแผงลอย ชมรมตลาดนัดหรือชมรมตลาดสด

แต่ละคนรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ช่วยเหลือกันและกัน ทำงานตามเป้าหมายให้สำเร็จ

  1. มีการประยุกต์ใช้ทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา ทำให้เทศบาลเมืองสุพรรณมีการขับเคลื่อนทางกฎหมายอย่างยั่งยืน คือ มีการสร้างภาคีเครือข่ายร่วมกันทุกภาคส่วน ทั้งภาคประชาชน ผู้ประกอบการ ภาคราชการ และเทศบาล

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดตั้งเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2478 จนถึงปัจจุบัน

ประกอบด้วยสภาเทศบาล
ทำหน้าที่สภานิติบัญญัติและนายกเทศมนตรี มีรายละเอียดดังนี้

2. นายกเทศมนตรี ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและรับผิดชอบในการบริหารราชการของเทศบาล โดยมีเจ้าหน้าที่ประจำและพนักงานจ้างเป็นผู้ปฏิบัติงาน

1. สภาเทศบาล มีหน้าที่ออกกฎหมายท้องถิ่น ที่เรียกว่า "เทศบัญญัติ" เป็นกฎหมายที่ใช้ในเขตเทศบาล และมีหน้าที่ควบคุมกิจการของนายกเทศมนตรี

ส่วนราชการที่เกี่ยวกับการ
ขอและออกใบอนุญาต คือกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

การลงพื้นที่ ทำให้ได้ข้อมูลในด้านต่างๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์ จะทำให้รู้ว่าองค์กรมี
-จุดแข็ง
-จุดอ่อน
ซึ่งในการดำเนินงานย่อมมีผลดีและผลเสีย

ผลดี

ผลเสีย

สามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้

วิเคราะห์หาถึงสาเหตุของปัญหาพร้อมกับปรับปรุง โดยการปรับปรุงต้องสอดคล้องกับบริบทขององค์กร

🏬 องค์กรของเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ได้นำ 2 หลักการ มาใช้ในการวิเคราะห์

SWOT analysis

🔍 จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบ

ผู้นำมีวิสัยทัศน์กว้างไกล

มีจิตสาธารณะ บุคคลรู้หน้าที่ของตนเอง

บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ

องค์กรสามัคคี เกิดภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง

🔍 จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ

ขาดบุคคลที่มีความรู้

เจ้าหน้าที่เทศบาลขาดความรู้ด้านกฎหมาย

🔍 โอกาสที่จะดำเนินการได้

เครือข่ายมีศักยภาพ จึงทำงานได้ง่ายขึ้น

สนับสนุนค่าใช้จ่าย ในตรวจสุขภาพผู้ประกอบการ

มีแผนลดค่าทำเนียม

บุคลากรได้รับการอบรมและพัฒนาความรู้

🔍 อุปสรรค ข้อจำกัด ปัจจัยคุกคามการดำเนินงาน

ผู้ประกอบการไม่ให้ความร่วมมือ

ผู้ประกอบการขาดความรู้

งบประมาณในการดำเนินงานน้อย

ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและการแก้ไขปัญหา

  1. เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องกฎหมาย บทบาทหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด

แก้ไขโดยส่งบุคลากรเข้าอบรมและนำความรู้มาถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นในองค์กร

  1. เทศบัญญัติที่ล้าหลัง ไม่ทันต่อสถานการณ์บ้านเมือง

แก้ไขโดยร่างเทศบัญญัติขึ้นใหม่ ตั้งแต่พ.ศ.2556-2542 และแก้เทศบัญญัติอีกครั้งพ.ศ.2556

  1. ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องกฎหมาย ไม่เห็นความสำคัญของการขอใบอนุญาติ

แก้ไขโดยจัดตั้งชมรมหรือสมาคมผู้ประกอบกิจการขึ้น และให้ความรู้โดยการสื่อสารผ่านทางหัวหน้าชมรม

  1. ประชาชนไม่เข้าใจว่าเทศบาลมีหน้าที่อะไร และจะเข้าไปดำเนินการอะไร

แก้ไขโดยอธิบายให้ประชาชนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของเทศบาลและให้ทราบถึงเหตุที่ต้องมาดำเนินการ เพื่อประชาชนเองจะได้มีชุมชนที่น่าอยู่ สะอาด ถูกสุขลักษณะ

ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการเพื่อขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมาย

  1. หน่วยงานด้านกฎหมาย

มีการผลักดันนโยบายบังคับใช้กฎฎหมายจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่น เพื่อกระตุ้นให้แต่ละท้องถิ่นเห็นความสำคัญ

  1. เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ประชาชน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน ผู้ประกอบการต่างๆ รวมถึงนักวิชาการด้านสาธารณสุข เข้ามามีส่วนร่วม

  1. มีการเผยแพร่โครงการลงสู่เทศบาลเมืองในจังหวัดต่างๆ

เพื่อการพัฒนาขับเคลื่อนไปพร้อมกันทั้งประเทศ นำสู่เทศบาลน่าอยู่ระดับอาเซียน

  1. ความสำเร็จในการบังคับใช้กฎหมาย

2.1 สุขภิบาลอาหารเรื่องการออกใบอนุญาต
ลงพื้นสำรวจร้านแผงลอย : ผู้ประกอบการขาดความรู้ความเข้าใจ จึงมีการจัดอบรมให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ด้านกฎหมาย

2.2 หน่วยงานที่มีส่วนช่วยในการขับเคลื่อนการพิจารณาอนุญาต และรับรองการแจ้งกิจการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

2.3 แนวทางการพัฒนาสู่ความยั่งยืนมีการอบรม พัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการอย่างต่อเนื่อง มีโครงการ Clean Food & Good Taste

2.4 ปัจจัยที่ทำให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆทำงานร่วมกันได้อย่างดี รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อ ทำงานตามเป้าหมายให้สำเร็จ

สาธารณสุขจังหวัด ให้ความร่วมมือด้านวิชาการ เรื่องกฎหมาย การประสานงาน ให้ความรู้สู่ท้องถิ่น

สาธารณะสุขอำเภอ ส่งเจ้าหน้าที่ในการลงตรวจพื้นที่

โรงพยาบาล มีมาตรการลดราคา50% สำหรับการตรวจสุขภาพ เพื่อชวนให้ผู้ประกอบการมาตรวจสุขภาพ เพื่อขอใบรับรองแพทย์

แนวทางการวิเคราะห์
ประกอบด้วยปัจจัยดังนี้

2.โครงสร้างองค์กร

1.กลยุทธ์ขององค์กร

3.ระบบการปฏิบัติงาน

4.บุคลากร

6.รูปแบบการบริหารจัดการ

7.ค่านิยม

5.ทักษะ ความรู้ ความสามารถ

เป็นกระบวนการอย่างหนึ่งที่ช่วยให้ผู้บริหารตอบคำถามที่ สำคัญ และในเทศบาลเมืองสุพรรณบุรีมีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน " เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีเป็นเมืองน่าอยู่ อย่างยั่งยืน"

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีมีกระบวนการในการเเบ่งหน้าที่แต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน และได้รับการสนับสนุนข้อมูลด้านวิชาการจากองค์กรภายนอกที่เกี่ยวข้อง นำมาสู่การจัดองค์กรที่ดี

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีมีการทำงานอย่างเป็นระบบ การสื่อสาร รวมถึงสารสนเทศ มีระบบการปฏิบัติงานที่เข้าใจง่าย พร้อมทั้งมีการประเมินผล

เป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำเนินงานขององค์กร เเละส่วนหนึ่งในการประสบความสำเร็จจะขึ้นอยู่กับการจัดการทรัพยากรมนุษย์

ทักษะด้านงานอาชีพ

เป็นทักษะที่จะทำให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานตามหน้าที่

ทักษะความถนัด

เป็นความสามารถที่บุคคลนั้นๆมีความโดดเด่นกว่าบุคคลอื่น

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี เห็นถึงความสำคัญด้านทักษะและความรู้ของบุคลากรโดยแต่ละฝ่ายจะได้รับการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะให้ความรู้เฉพาะด้าน

ผู้นำขององค์กรมีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จ
ขององค์กร ได้แก่
1.วางแผนด้านโครงสร้าง
2.ลงมือปฏิบัติร่วมกับบุคลากรและผู้ประกอบการในพื้นที่

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีมีค่านิยมและความเชื่อร่วมกัน โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรที่เข้มเเข็ง