Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Paradigm (รัฐประศาสนศาสตร์) - Coggle Diagram
Paradigm
(รัฐประศาสนศาสตร์)
Paradigm
(มโนทัศน์/กระบวนทัศน์)
ความเชื่อ ค่านิยม วิธีการ
กลุ่มทฤษฎี
กระบวนทัศน์ที่ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science)
เปลี่ยนเพราะไม่สามารถให้คำตอบและแก้ปัญหาได้
ใช้กรณีศึกษา
เกิดรัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ
กระบวนทัศน์ที่ 6 รัฐประศานศาสตร์คือธรรมาภิบาล (Governance, 1990-ปัจจุบัน)
สร้างและนำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบริหารงานที่เรียกว่า รัฐบาล (Government)
Henry การร่วมมือกันของภาคส่วนต่าง ๆ คือธรรมาภิบาล
รัฐประศาสนศาสตร์
(Public Administration)
การบริหารรัฐกิจ องค์ความรู้หรือวิชาที่มุ่ง
จะจัดการดูแลกิจการสาธารณะ
ปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายตามน
โยบายของนักการเมือง
การรับใช้ การจัดการ การปฏิบัติภารกิจ
และการอำนวยการ
กระบวนทัศน์ที่ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy)
(เปลี่ยนแนวคิดการเมืองไม่อาจแยกจากการบริหารเน้นข้อเท็จริงและความเป็นวิทยาศาสตร์นำไปสู่กระบวนทัศน์ต่อไป)
Woodrow Wilson
“การเมืองไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับการบริหารเลย”
Leonard D.White เขียนตำราเรียนเล่มแรก
“Introduction to the Study of Public Administration”
William F. Willoughby เขียนตำราเรียนเล่มสอง
“Principles of Public Administration”
กระบวนทัศน์ที่ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration)
การเมืองการบริหารอยู่ร่วมกันและทับซ้อนกัน
หน่วยงาน
ผลประโยชน์
เข้าถึง
กระบวนทัศน์ที่ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management)
เกิดอัตลักษณ์ให้้ความสำคัญกับทฤษฎีมกากว่าเทคนิคบริหาร
บริหารศาสตร์
การจัดการทั่วไป
กระบวนทัศน์ที่ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration)
(เกิดแนวคิดหลักการบริหารไม่สามารถใช้ได้กับทุกสถานการณ์ ลำดับขั้นบังคับบัญชาควรมีจำนวนชั้นน้อยลง)
Gulick และ Urwick ได้จัดทำ
“Papers on the science of administration”
หลักการบริหาร POSDCORB