Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดน้ำเสียโดยใช้สารสกัดเทนนินจากใบกระถิน - Coggle Diagram
การบำบัดน้ำเสียโดยใช้สารสกัดเทนนินจากใบกระถิน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อใช้สารสกัดเทนนินในการบำบัดน้ำเสีย
2.เพื่อใช้ประโยชน์จากใบกระถิน
สารเทนนิน
ลักษณะ
เป็นสารประกอบพอลิฟีนอลโครงสร้างซับซ้อน มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน เป็นสารให้ความฝาดและรสขม พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ใบชา ใบฝรั่ง ใบพลู ใบชุมเห็ด ผลไม้ดิบ เช่น ในเปลือกกล้วยดิบ เปลือกมังคุด เปลือกมะพร้าวอ่อน เมล็ดของผลไม้ เช่น องุ่น เม็ดใน ของมะขาม และพบในไวน์แดง
ประโยชน์
ใช้แทนนินเป็นสารจับกับโปรตีน และไอออนของโลหะในกระบวนการผลิตอาหาร เครื่องดื่ม เพื่อกำจัดกลิ่น รสที่ไม่ต้องการ และตกตะกอนโลหะที่เจือปน
มีคุณสมบัติเป็นสารกันเสีย ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
แทนนินสามารถลดแอมโมเนียในน้ำได้
รูปแบบของสารแทนนิน
ไฮโดรไลเซเบอแทนนิน
พบมาก ในส่วนใบ ฝัก
และส่วนที่ปูดออกมาจากปกติ
เมื่อต้นไม้ได้รับอันตราย
คอนเดนเซด แทนนิน
พบได้ใน ส่วนเปลือกต้น
และแก่นไม้เป็นส่วนใหญ่
ต้นกระถิน
จัดเป็นไม้โตเร็ว สามารถเจริญเติบโตได้ดีในทุกสภาพดิน และทนต่อโรค แมลง และสภาพอากาศหนาวหรือแห้งแล้งได้ดี
บริเวณที่พบสารแทนนิน คือ ใบกระถิน
เป็นพืชที่มนุษย์และสัตว์สามารถทานได้ จึงไม่สงผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ
การทดลอง
วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1 สกัดสารเทนนินจากใบกระถิน
นำไปวางในน้ำแข็งเป็นเวลา 2 ชั่วโมง
กรองสารละลายด้วยผ้าขาวบางใส่ในบีกเกอร์
นำไปวางในอ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิที่ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง
ระเหยตัวทำละลาย โดยนำไปวางในน้ำที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส จนแห้ง
ชั่งใบกระถิน 10 กรัมใส่ในขวดรูปชมพู่ เติมเอทิลแอลกอฮล์95% และน้ำอัตราส่วน 1:1 ปริมาตรรวม 50 มิลลิลิตร
7.นำมาบดให้ละเอียด
นำใบกระถินออกมารูดออกจากก้านให้หมด.
8.ได้สารสกัดเทนนินจากใบกระถิน มีลักษณะเป็นผลึกแข็งสีน้ำตาล
ตอนที่ 2 ทดสอบคุณภาพหน้า
ใส่น้ำกลั่น 50 ml ลงในบีกเกอร์ขนาด 100ml แล้วใส่สารละลายเทนนิน 1 ช้อนชาตักสารแล้วคนให้เท่ากันด้วยแท่งแก้ว แล้วใส่ลงในบีกเกอร์น้ำเสีย
วางตั้งไว้ 1-2 วัน สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีน้ำของเสียเเละค่า pH ของน้ำเสีย
ใส่น้ำเสีย200 ml ลงในบีเกอร์ขนาด 250 ml แล้วพร้อมกับสังเกตสีของน้ำ , วัดค่า pH ของน้ำเสีย
อุปกรณ์
บีกเกอร์ กรวยแก้ว แท่งครสาร
ผ้าขาบาง เครื่องชั่งดิจิตอล 2 ตำแหน่ง ตัวหนีบ
เทอร์มอมิเตอร์ pH Meter ขวดรูปชมพู่
ขาตั้ง กระบอกตวง เครื่องเก็บอุณหภูมิน้ำ
สารเคมี
สารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ 95 %
ใบกระถิน
น้ำกลั่น
การบำบัดน้ำเสีย
การบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีทางเคมี (Chemical Wastewater Treatment)
เป็นการใช้สารเคมีหรือการทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีเพื่อบำบัดน้ำเสีย
การบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีทางชีวภาพ (Biological Wastewater Treatment )
เป็นการใช้สิ่งมีชีวิตเป็นตัวช่วยในการเปลี่ยนสภาพของของเสียในน้ำให้อยู่ในสภาพที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาภาวะมลพิษต่อแหล่งน้ำธรรมชาติ
การบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีทางกายภาพ (Physical Wastewater Treatment)
ใช้หลักการทางกายภาพ เช่น แรงโน้มถ่วง แรงเหวี่ยง แรงหนีศูนย์กลาง เป็นต้น เพื่อกำจัดหรือขจัดเอาสิ่งสกปรกออกจากน้ำเสีย โดยเฉพาะสิ่งสกปรกที่ไม่ละลายน้ำ
ปัญหาน้ำเสีย
สาเหตุ
แหล่งน้ำเสียที่เกิดจากชุมชน
การทิ้งขยะลงแม่น้ำลำคลองอยู่เป็นประจำ
การปล่อยน้ำเสียจากอาคารบ้านเรือน
แหล่งน้ำเสียที่เกิดจากอุตสาหกรรม
แหล่งน้ำเสียที่เกิดจากเกษตรกรรม
ผลกระทบ
กระทบต่อวงจรชีวิตของสัตว์น้ำ
เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด และท้องเสีย
มีผลกระทบต่อการเพาะปลูก เพราะน้ำเสียที่มีความเป็นกรดและด่างไม่เหมาะสำหรับทำการเกษตร
มีผลต่อกระทบต่อทัศนียภาพ
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ