Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
STIMI - Coggle Diagram
STIMI
ภาวะเเทรกซ้อน
หัวใจวาย CHF :<3:
ผู้รับบริการ แน่นหน้าอก PS 5/10
EKG:RBBB c STE V2-4 ได้ SK ,ASA,Plavix ที่ รพช. ขณะได้ SK มีอาการเกร็ง ไม่ทราบว่านานเท่าไหร่ On tube + BP drop : load total 1700 ml ได้ SK ครบ 04:25 น.
ณ ห้องฉุกเฉิน conscious E1VTM1 วัด BP 80/50
:<3:
ภาวะช็อคเนื่องจากหัวใจCardiogenic shock :<3:
ผู้รับบริการ แน่นหน้าอก PS 5/10
EKG:RBBB c STE V2-4 ได้ SK ,ASA,Plavix ที่ รพช. ขณะได้ SK มีอาการเกร็ง ไม่ทราบว่านานเท่าไหร่ On tube + BP drop : load total 1700 ml ได้ SK ครบ 04:25 น.
BP at รพช.
แรกรับ 01.33 น. BP 97/63
01.55 น.BP 66/52
02.22 น BP 67/48
02.47 น. BP 93/63
03.06 น. BP 94/61
.
ภาวะช็อคจากขาดน้ำ Hypovolemia
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ Pericarditis
ลิ่มเลือดในหัวใจThromboembolism
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดซ้ำ Recurrent angina
ลิ้วหัวใจรั่วเฉียบพลัน Mitral regurgitation
หัวใจเต้นผิดปรกติ Arrhythmias
ทฤษฏีโรค
พยาธิสภาพ
เริ่มจากการอักเสบของเซลล์บุผนังชั้นในหลอดเลือด
(Endothelium cell) จากปัจจัยต่าง ๆ
เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นคราบไขมัน Plaque formation
ระยะที่ 1
เกิดคราบไขมัน (Fatty streak)
มีการสะสม LDL
หลั่ง cytokine
ดึง monocyte เข้าไปในผนังหลอดเลือด
ระยะที่ 2
คราบไขมันเกิดการอักเสบ
และขยายตัวก้อนใหญ่ขึ้น
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
(Smoot muscle cells )
แทรกตัวเข้าไปรวมกับ fome cell
เกิดเป็นคราบไขมันและผังผืด
(fibro-fatty kesion)
หลอดเลือดแดงหนาตัวขึ้น
1 more item...
ระยะที่ 3
เกิดพังผืดมาหุ้ม
แคลเซียมมาสะสมในคราบไขมัน
ร่วมกับการตายของ SMCsและเซลล์ไขมันอื่นๆ
เกิดเป็นพังผืด รอบๆ
1 more item...
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยง
ไม่ได้
อายุ
ชาย >40 ปี หญิง > 55 ปี
:<3: ผู้รับบริการ อายุ 75 ปี
เพศ : เพศชายมีโอกาสเป็นมากกว่าเพศหญิง
:<3: ผู้รับบริการเพศชาย
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
เกี่ยวกับโรคหัวใจ
ปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย
:<3: ผู้รับบริการปฏิเสธการดื่มสุราและสูบบุหรี่
:<3: มีโรตประจำตัว คือความดันโลหิตสูง
:<3: ไม่ได้ออกกำลังกาย
:<3: ไม่ได้ประกอบอาชีพ
อาการและอาการเเสดง
Tropical chest pain + Refer pain
อาการมักจะเป็นเวลานานกว่า 20 นาที
:<3: แน่นหน้าอกเหมือนมีอะไรมากดทับ
pain score 5/10
อาการร่วม : ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
หายใจขัด หอบเหนื่อย เป็นลม
:<3: ถ่ายเหลว คลื่นไส้อาเจียน
การวินิจฉัย
การประวัติ /
อาการและอาการแสดง
ปวดบิดท้อง ถ่ายเหลว 7 ครั้ง อาเจียน 3 ครั้ง
แน่นหน้าอก 4 hr. ก่อนมาโรงพยาบาล
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
E.K.G.
:<3: EKG show ST elevate at lead V2-V4
การตรวจเลือดหาเอมไซม์
ที่แสดงถึงการที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตาย
:<3: Troponin -T = >10000
Chest X-ray
Congestion c minor fissure Rt.
Echo-Doppler
:<3: Anterior wall akinesis EF 32%
การรักษา
การรักษาด้วยยา
(Pharmacologic therapy)
. Aspirin (81) 1x1 TF : pc :<3:
การพยาบาล
1.รับประทานยาหลังอาหารทันทีหรือหลังรับประทานยาให้ดื่มน้ำแก้วใหญ่ ๆ เพื่อช่วยลดความเข้มข้นของกรดในยาให้เจือจางลงป้องกันยาระคายเคืองกระเพาะอาหารห้ามรับประทานพร้อมนมหรือยาลดกรดควรเว้น 2 ชั่วโมง
ให้ดื่มน้ำเครื่องดื่มหรือรับประทานอาหารเหลวบ่อยๆเพื่อช่วยลดความร้อนไม่ควรดื่มน้ำผลไม้หรือเครื่องดื่มที่มีฤทธิ์เป็นกรดหลังรับประทานยา
ควรหยุดยาแอสไพรินในผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 1 สัปดาห์หรือมีอาการปวดแน่นท้องอุจจาระมีสีคล้ำมีจำเลือดหรือจุดเลือดตามตัว
สังเกดพิษและผลข้างเคียงเช่นหูอื้อเวียนศีรษะจุดจำเลือดผื่นคันเป็นต้น
หากผู้ป่วยได้รับยาเกินขนาดให้การช่วยเหลือโดยหยุดใช้ยาเตรียมตรวจหาระดับ Salicylate ในเลือดกระตุ้นให้อาเจียนหรือล้างท้องและให้ยาแก้ฤทธิ์ยาเช่น Activated charcoal เป็นต้นเตรียมสารน้ำให้ทางหลอดเลือดดำเพื่อให้ไตทำงานปกติโดยใช้ 5% DW อาจให้โซเดียมไบคาร์บอเนตเพื่อเพิ่ม pH เร่งการขับถ่ายยาหากอาการไม่ดีขึ้นแพทย์อาจพิจารณาทำ Dialysis ชนิดแลกเปลี่ยนพิษยาทางหน้าท้อง(Peritoneal dialysis) หรือทางเลือด (Hemodialysis)
Streptokinase 1.5 mu IV drip in 30 min :<3:
การพยาบาล
ควรทดสอบปฏิกิริยาการแพ้ก่อนให้ยา โดยทำ Intradermal Skin Test. Streptokinase 100 IU หากไม่พบผลบวก หลังทดสอบ 15-20 นาที จึงสามารถให้ยาได้
2.ควรมีการตกลงร่วมกันในการรับยาด่วนที่ห้องจ่ายยา เช่น ให้เขียนดาวสีแดงที่หน้าชื่อยา พร้อมทั้งนำใบสั่งยายื่นให้ถึงมือเจ้าหน้าที่ห้องยา พร้อมกำชับว่า “ยาด่วน” เพื่อขอรับยาทันที
3.วิธีเตรียมยา Streptokinase 1,500,000 IU (1 vial) ละลายใน 0.9%NSS 10 ml จนหมดโดยไม่ควรเขย่า เพราะทำให้เกิดฟอง หลังผสมยาแล้วให้เก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 4 C ใช้ได้ภายใน 24 ชั่วโมง และที่ 25 C ใช้ได้ภายใน 8 ชั่วโมง
4.ในกรณีที่ต้องให้ยาโดยวิธี IV infusion ควรให้ยาผ่าน infusion pump และตรวจสอบเครื่องให้มีประสิทธิภาพและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา ก่อนให้ยาควรตรวจสอบความถูกต้องของปริมาณยาที่ให้กับเวลาที่ใช้ในการให้ยาผ่านเครื่อง infusion pump
Monitor BP, PTT,aPTT, Platelet count, Hematocrit ,Sign of bleeding ติดตามการเกิดภาวะเลือดออกอย่างใกล้ชิดทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงแรกที่ให้ยา หากเกิดอาการ เช่นไอเป็นเลือด เลือดออกตามไรฟัน ปัสสาวะเป็นเลือด หรือมีจ้ำเลือดตามผิวหนัง ให้หยุดยา และอาจพิจารณาให้ Whole blood หรือ Pack Red cell
6.ไม่ควรผสมกับยาอื่น
ภาวะแทรกซ้อน
มีเลือดออกง่ายตามร่างกาย
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เจ็บแน่นหน้าอก
:<3: มีเลิอดออกในระบบทางเดินอาหารส่วนบน
การรักษาที่ได้รับ
ให้ยา omeprazole ,Pantoprazole :<3:
consult GI plan ทำ EGD
ผู้รับบริการและญาติปฎิเสธการรักษา :<3:
ให้เลือดPRC, FFP :<3:
. simvastatin (20) 1x1 TF pc :<3:
การพยาบาล
1.ระวังการเกิดน้ำตาลต่ำในเลือด เช่น หิว หน้ามืด เหงื่อแตก ใจสั่น
2.ยาตัวนี้อาจทำให้เกิดอาการข้างเคียงสำคัญ
เช่น ท้องเสีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
3.หากได้รับยานี้แล้วเกิดอาการผิดปกติ
เช่น เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดเมื่อยผิดปกติ
ปัสสาวะเป็นสีแดงหรือสีเข้มผิดปกติ หรืออาจทำให้เกิดตับอักเสบ มีอาการเบื่ออาหาร ตัวเหลือง ตาเหลือง ควรหยุดยาและพบแพทย์ทันที
หากลืมกินยา ให้กินยาทันทีที่นึกได้ แต่ถ้าลืมกินเกิน 12 ชั่วโมง
ให้รอกินยาของมื้อต่อไป และห้ามกินยาเพิ่มเป็น 2 เท่า
. plavix (75) 1x1 TF pc :<3:
การพยาบาล
ติดตามอาการผู้ป่วยบ่อยๆว่ามีเลือดกำเดาออกมีเลือดออกบริเวณเหงือกปัสสาวะมีเลือดปนอุจจาระเป็นเลือดหรือมีเลือดสดๆออกมาจากกระเพาะอาหารหรือบาดแผลมีรอยช้ำเป็นห้อเลือดความดันโลหิตต่ำหรือชีพจรเต้นเร็ว
ติดตามผล PT, Bleeding time, INR (International nomalized ratio) โดย PT ประมาณ 20 วินาทีและ INR = 1.5-2.5 และเก็บยาให้พ้นแสงโดยใส่ของสีชา
ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานผักใบเขียวซึ่งมีวิตามินเคมาก ได้แก่ ผักกาดหอมกะหล่ำปลีกะหล่ำดอกผักขมหน่อไม้ฝรั่งเป็นต้นเนื่องจากวิตามินเคสามารถต้านฤทธิ์ยาทำให้เกิดการแข็งตัวของลิ่มเลือดซึ่งเป็นสาเหตุให้หลอดเลือดอุดตันได้
การรักษาโดยใช้บอลลูนถ่างขยาย
หลอดเลือดหัวใจ
(Percutaneous Coronary Intervention :check:
PCI)
การพยาบาลก่อน ทําPCI
• ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทํา PCI / ตรวจสอบใบเซ็นต์ยินยอมทําหัตถการ
• ซักประวัติเกี่ยวกับการแพ้อาหารทะเล
• ตรวจ EKG complete lead, CXR, Lab BUN, Cr, Electrolyte, CBC, PT, PTT, INR ตามที่แพทย์สั่ง
• เตรียมผิวหนังก่อนวัน ทํา PCI
• คลําชีพจรหลังเท้า (Dorsalispedis) พร้อมทําเครื่องหมาย บริเวณที่คลําได้ชัดเจน
การพยาบาลหลังทํา PCI
• กรณียังคา Sheath
นอนหงายห้ามงอขาข้างที่มี sheath อาจจะต้องผูกรัดไว้
สังเกตอาการเลือดออก (Hematoma) บริเวณแผลที่คา Sheath
3.ตรวจสอบการอุดตันของ Sheath โดยใช้ 0.9 NSS flash
คลําชีพจรและอุณหภูมิบริเวณหลังเท้าทั้ง 2 ข้างทุก 1 ชั่วโมง
สังเกตอาการเลือดออกผิดปกติทุกอวัยวะ
• กรณี offSheath
1.กดบริเวณที่ off sheath นาน 15- 30 นาที
หรือจนกว่าเลือดจะหยุดสนิท ปิดแผลด้วย Hypafix
และวางหมอนทรายทับ
นอนหงายห้ามงอขาหลัง off 6 ชั่วโมง อาจจะต้องผูกรัดไว้
สังเกตอาการเลือดออก (Hematoma) บริเวณแผล
ทุก 1 ชั่วโมง
4.คลําชีพจรหลังเท้า เทียบกันทั้ง 2 ข้าง ทุก 1 ชั่วโมง
จนครบ 6 ชั่วโมง คลําอุณหภูมิที่เท้าทั้ง 2 ข้างเปรียบเทียบกัน
:<3: ผู้รับบริการปฎิเสธการรักษา
: CAG
:<3: ผู้รับบริการปฎืเสธการรักษา