Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค กลุ่มอาการท้องเสีย ถ่ายเหลวและอาเจียน, กลุ่ม…
การวินิจฉัยแยกโรค
กลุ่มอาการท้องเสีย
ถ่ายเหลวและอาเจียน
Acute Diarrhea
ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระเหลว หรือถ่ายเป็น น้ำมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้งใน 24 ชั่วโมง (หรือถ่ายเป็นน้ำจำนวนมากอย่างน้อย 1 ครั้งใน 24 ชั่วโมง) หรือถ่ายมีมูกหรือ ปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง
สาเหตุ
โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (acute diarrhea)
มีอาการน้อยกว่า 14 วัน
ติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือ โปรโตซัว
รับประทานอาหารที่ปนเปื้อน preformed toxin ของเชื้อ แบคทีเรีย
โรคอุจจาระร่วงต่อเนื่อง (persistent diarrhea)
มีอาการตั้งแต่ 14 ถึง 30 วัน
ติดเชื้อโปรโตซัว รวมถึงเชื้อแบคทีเรีย
ไม่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ
ภาวะลำไส้แปรปรวนหลังการติดเชื้อ (post-infection irritable bowel syndrome)
โรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (inflammatory bowel disease, IBD)
โรคอุจจาระร่วงเรื้อรัง (chronic diarrhea)
มีอาการมากกว่า 30 วัน
ความบกพร่องของระบบทางเดินอาหาร
ภาวะลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome : IBS)
โรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (Inflammatory Bowel Disease : IBD)
การติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อาการอาเจียนเด่น / อาเจียนนำหน้าอาการอุจจาระร่วง มักเกิดจาก
อาหารเป็นพิษ (food poisoning)
อาหารที่ปนเปื้อน preformed toxin จากเชื้อแบคทีเรีย
โดยทั่วไปอาการมักเกิด ภายใน 2-7 ชั่วโมงหลังรับประทานอาหารที่ปนเปื้อน อาการมักไม่รุนแรงและสามารถหายได้เองใน 48-72 ชั่วโมง
การติดเชื้อไวรัส
rotavirus
อาการอื่นที่อาจพบด้วย ได้แก่ ไข้ต่ำ ๆ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
อาการอุจจาระร่วงเด่น
ส่วนใหญ่มีอาการท้องเสียเป็นน้ำหรืออาจจะมีมูกเลือดปนได้ ปวดท้อง ปวดเบ่ง คลื่นไส้ อาเจียนหรือมีไข้ได้
อุจจาระเป็นมูกหรือปนเลือด (bloody diarrhea)
ติดเชื้อแบคทีเรียที่ไปทำลายเยื่อบุที่ลำไส้เล็ก ส่วนปลายหรือลำไส้ใหญ่ (ileocolonic infection)
อุจจาระจะมีลักษณะเป็น มูกหรือปนเลือด
อาการอื่นที่พบ ได้แก่ ไข้ หรือปวดเบ่ง ขณะถ่าย (tenesmus)
อุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำ (watery diarrhea)
อุจจาระมีลักษณะเหลวหรือเป็นน้ำโดยทั่วไป อาการมักไม่รุนแรง และไม่เกิดการทำลายหรือการอักเสบของ เยื่อบุที่ลำไส้ (mucosal inflammation)
การรักษา
การรักษาภาวะขาดน้ำ
กินน้ำเกลือแร่ ORS ใช่ในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดน้ำน้อย
ไม่ควรดื่มครั้งเดียวจนหมดเพราะจะทำให้มีอาการอาเจียนเพิ่มขึ้นได้
น้ำเกลือแร่ ORS 1 ซอง ผสมน้ำสะอาดตามสัดส่วนที่ระบุไว้
ใส่แก้ว ค่อย ๆ จิบ หรือ ใช้ซ้อนตักป้อน
โดยใช้ยา
ยารักษาตามอาการ
ยาลดการอาเจียน
ยาลดไข้
ยารักษาอาการท้องอืด
ยาลดอาการปวดท้อง
โปรไบโอติกส์ จำเป็นต้องเป็นชนิดที่เหมาะสมเพื่อการรักษาโดยเฉพาะ
ยาปฏิชีวนะหรือยาฆ่าเชื้อ
ใช้เฉพาะในกรณี
สงสัยติดเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรง
มีการติดเชื้อในกระแสเลือด
ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิต้านทานต่ำ เด็กเล็ก มีโรคประจำตัว
ยาลดปริมาณอุจจาระและหรือลดจำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระ
กลุ่มอาการลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า(Irritable bowel syndrome)
อาการแสดง
มักถ่ายเป็นก้อนเหมือนปกติหลังตื่นนอนตอนเช้าครั้งนึงก่อน แล้วหลังอาหารเช้าจะมีปวดบิดในท้องทันทีต้องถ่ายอีก
มักจะถ่ายเหลวเป็นน้ำและอาจจะถ่ายเหลวอีกหลายครั้ง โดยเฉพาะหลังอาหารแต่ละมื้อ
ถ่ายอุจจาระบ่อยเป็นประจำทุกวัน
หรือเป็นๆหายๆเรื้อรัง
การรักษาเบื้องต้น
การหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดหรืออาหารที่กระตุ้นอาการ งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ชา หรือกาแฟ
การดูแลรักษาตามอาการ
ถ้ามีอาการปวดท้องและถ่ายบ่อยให้ยาแก้ท้องเดิน Loperamide หรือ antispasmodic ก่อนอาหาร 30 ถึง 60 นาที
เวลามีอาการ ถ้ามีอาการไม่มากหรือพอทนได้ก็ไม่ต้องรับประทานยา ถ้ามีอาการท้องผูกให้ยาระบาย
มีอาการคิดมาก กังวลใจ นอนไม่หลับ ให้ยากล่อมประสาท เช่น Diazepam หรือยาแก้ซึมเศร้า เช่น Amitriptyline
ถ้ามีอาการเบื่ออาหาร น้ำหนักลด ถ่ายเป็นเลือดหรือสงสัยจะเกิดจากสาเหตุอื่นควรแนะนำไปตรวจที่โรงพยาบาล
การแนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การฝึกสมาธิหรือการหาทางผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่างๆ
โรคบิด
มีตัว
การรักษา
Metronidazole 750 mg. tid pc 10 วัน , ถ้ามีอาการปวด และกดเจ็บบริเวณชายโครงขวาอย่างมากหรือสงสัยจะเป็นโรคฝีในตับ ควรส่งไปโรงพยาบาลโดยเร็ว
อาการ
อุจจาระเหลว มีเนื้อปน กลิ่นเหม็นขายหัวกุ้งเน่า ถ่ายกระปิดกระปอย
ไม่มีตัว
อาการ
ปวดบิด ถ่ายเป็นน้ำ ปวดเบ่ง
ถ่ายเป็นมูก หรือมูกปนเลือด
การรักษา
ให้ยา Cotrirnoxazoie bid p.o pc 3วัน , ถ้ามีภาวะขาดน้ำรุนแรงหรือช็อกให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ แล้วส่งโรงพยาบาลทันที
อาหารเป็นพิษจากเชื้อ Salmonella (Salmonella food poisoning)
อาการแสดง
ปวดบิดในท้อง ถ่ายเป็นน้ำ
คลื่นไส้อาเจียนเล็กน้อย
ไข้หนาวสั่น
มีภาวะขาดน้ำอาการจะค่อยๆหาย ภายใน 2 - 5 วัน บางรายอาจเป็นเรื้อรังนานถึง 10 -14 วัน
อาการแทรกซ้อน
ภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรง
การรักษาเบื้องต้น
อาการไม่รุนแรงให้รักษาตามอาการ
กรณีมีไข้ ให้ยาลดไข้ พาราเซตามอล (500 มิลลิกรัม)
ครั้งละ 1 เม็ด เมื่อจำเป็น โดยให้ซ้ำได้ ทุก 4-6 ชั่วโมง
ให้สารละลายน้ำตาลเกลือแร่ (ORS)
อาการรุนแรงหรือมีภาวะขาดน้ำรุนแรง
ควรส่งโรงพยาบาล
ภาวะที่มีอาการถ่ายเป็นน้ำหรือถ่ายเหลวมากกว่า 3 ครั้ง/วัน หรือ ถ่ายเป็นมูกหรือมูกปนเลือดเพียงครั้งเดียว
การซักประวัติ ที่เกี่ยวกับอาการท้องเดิน
ลักษณะอุจจาระ : น้ำ เหลว
มูกเลือด น้ำปนเนื้อ ก้อนธรรมดา สี กลิ่น
ถ่ายวันละกี่ครั้ง
ปริมาณมากน้อยเท่าใด
เป็นมานานเท่าใด
ทานยาอะไรอยู่หรือไม่
มีอาการอื่นร่วมหรือไม่ : ไข้
อาเจียน น้ำหนักลด
ถ่ายทั้งกลางวัน /กลางคืนหรือไม่
มีปวดเบ่งร่วมด้วยหรือไม่
มีคนอื่นเป็นด้วยหรือไม่
ลักษณะตามระยะเวลาที่มีอาการ
ชนิดเฉียบพลัน
สารพิษจากเชื้อโรค
โดยการรับประทานพิษของเชื้อโรคที่ปนเปื้อนใน อาหาร มักพบว่ากลุ่มคนที่รับประทานอาหารด้วยกันมีอาการพร้อมกัน หลายคน
สารเคมี
เช่น ตะกั่ว สารหนู Nitrate ยาฆ่าแมลง เป็นดัน มักจะทำใหมีอาการอาเลียนปวดท่องรนแรงและชักได้
ยา
เช่น ยาถ่าย ยาลดกรด ยาปฏิชีวน: (Tetracveline
Amoxycillin Erythromycin Coichicine)
การติดเชื้อ
พบได้บ่อยกว่าสาเหตุอื่น อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส เช่น Rotavirus บิดไทฟอยด์ อหิวาต์มาลาเรีย พยาธิบางชนิด เช่น พยาธิแส้ม้า เป็นต้น
พืชพิษ
เห็ดพิษ กลอย
ชนิดเรื้อรัง (ถ่ายนานเกิน 3
สัปดาห์ หรือเป็น ๆ หาย ๆ)
การติดเชื้อ
เช่น บิดอะมีบา(Amoeba) วัณโรคลำไส้
พยาธิแส้ม้า เอดส์ เป็นต้น
การขาดเอนไซม์ Lactase ที่ย่อยน้ำตาล Lactose ซึ่งมีในนมสด ทำให้ท้องเดินหลังดื่มนม
โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน คอ
พอกเป็นพืษ
ยา เช่น รับประทานยาถ่ายหรือยาลดกรด
เป็นประจำจะทำให้มีอาการ ท้องเดินเรื้อรัง
การตรวจร่างกายทั่วไป
ความรุนแรงของภาวะขาดสารน้ำ
ชีพจร
ความดันเลือด
พฤติกรรม
กระหายน้ำ
เยื่อบุปาก
น้ำตา
กระบอกตา
กระหม่อมหน้า
ความยืดหยุ่นของผิวหนัง
Urine specific gravity
Capillary refill
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Complete Blood Count (CBC)
ประเมินการติดเชื้อ
เก็บอุจจาระส่งตรวจเพื่อหาเชื้อก่อโรค(stool exam)
Stool culture
Electrolyte
ประเมินความสมดุลของน้ำ
Blood urea nitrogen (BUN)
มักมีค่าสูงขึ้นกว่าปกติ (10-20 มก/ดล.)
ปัสสาวะจะมีค่าถ่วงจำเพาะสูงขึ้น
มักสูงกว่า 1.020
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 1 ปี 2 เดือน
อาการสำคัญ
(Chief complaint)
เจาะเลือดตามนัด 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
(Present illness)
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ อาเจียน 1 ครั้ง ถ่ายเหลว 3 – 4 ครั้ง ลักษณะเป็นน้ำไม่มีมูกเลือดปน พาไปรักษาที่คลินิก
13 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการอาเจียน 3 ครั้ง ลักษณะเป็นน้ำสีเขียว อุจจาระ 2 ครั้ง ลักษณะเป็นน้ำไม่มีมูกเลือดปน เข้ารับการรักษาที่รพ.ตากฟ้า ได้รับ 5 % DN/3 1,000 ml 2 ขวด หลังหมดให้กลับบ้านและให้ ORS จิบ
4 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการถ่ายเหลว 2 ครั้ง ลักษณะเป็นน้ำไม่มีมูกเลือด ไม่มีไข้ ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เจาะเลือดตามนัด
อาการแรกรับ
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี มีอาการอ่อนเพลีย ริมฝีปากแห้งเล็กน้อย มีไข้ ไม่มีอาเจียนและถ่ายเหลว หมอนัดเจาะเลือด และนอนโรงพยาบาล
Acute Gastroenteritis
(กรณีศึกษา)
สาเหตุ
Norovirus
E.coli, Sulmonella
บริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ
ภูมมิคุ้มกันไม่แข็งแรงทำให้ติดเชื้อได้ง่าย
เชื้อสามารถติดต่อจากคนสู่คนได้ เมื่อใกล้ชิด/ได้รับเชื้อจาก Pt.AGE
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติการรับประทานอาหาร
ระยะที่ผู้ป่วยเป็น
U/D, Allergic
อาการที่นำผู้ป่วยมารพ.
จำนวนครั้งของการอาเจียน
อาการอาเจียน 3 ครั้ง
ลักษณะอาเจียน
ลักษณะเป็นน้ำสีเขียว
การขับถ่าย/จำนวนครั้ง
ถ่ายเหลวเป็นน้ำ 3 – 4 ครั้ง ไม่มีมูกเลือดปน
การตรวจร่างกาย
Mouth
Dry libs
Abdomen
not tender, no mass, no guarding, no rebound tenderness
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
MCV 73 fl.(ค่าปกติ 82 - 92 fl)
MCHC 23.5 g/dl (ค่าปกติ 32 - 36 g/dl)
WBC 10.5 M/UL (ค่าปกติ 4 - 10 M/UL)
Electrolyte
Sodium 133.8 mmol/L
(ค่าปกติ135 – 145 mmol/L)
อาการ
อาการหลักคือท้องเสีย ส่วนใหญ่จะเริ่มด้วยอาการท้องเสีย ถ่ายเหลวหรือเป็นน้ำ นำมาก่อนแต่ต้น
แล้วตามด้วยอาการอื่นๆ
ปวดท้อง, คลื่นไส้, อาเจียนเป็นสีเขียว
มีไข้, น้ำหนักลด
ตัวบวมจากการสูญเสียโปรตีนทางลำไส้
โลหิตจางจากการสูญเสียเลือดทางลำไส้
อาการในเด็ก
อาการของภาวะขาดน้ำ
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ, กระสับกระส่าย, เซื่องซึม, ตัวซีด
อาเจียนเป็นสีเขียว, ถ่ายเหลวอาจมีเลือดปน
มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
กระหม่อมศีรษะโป่งตึงหรือบุ๋มลง,หายใจตื้นหรือหายใจถี่, คอแข็ง
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Acute watery diarrhea
การถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ ไม่มีเลือดปน อาจมีอาการอาเจียน และไข้ร่วมด้วย
Dysentery
การถ่ายอุจจาระที่เหลวมีเลือดปน, เห็นได้ด้วยตาเปล่า
เชื้อลุกล้ำผ่านทางผนังลำไส้ (invasive bacteria)
ปัญหาสำคัญ
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด
เยื่อบุลำไส้ถูกทำลาย
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยมักมีอาการถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ 1 ครั้ง หรือถ่ายเหลว 3 ครั้งเป็นอย่างน้อยในเวลา 12 ชั่วโมง หรือถ่ายเหลวมีมูกเลือดปน 1 ครั้ง
Mucus bloody/ invosive diarrhea
Toxin ของ bacteria เพิ่มการหลั่ง hypersecretion
เพิ่มการสร้างเกลือและน้ำในลำไส้เพิ่มขึ้น
ถ่ายเหลว
Acute watery diarrhea /non-invasive diarrhea มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียและ virus
ยับยั้งการดูดซึมเกลือและน้ำ
cell ผนังลำไส้ลอกหลุดเป็นหย่อม ๆ และกลายเป็นน้ำเหลว มีมูก ปนเลือด
การรักษา
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
5 % DN/3 1,000 ml IV drip rate 40 ml/hr
กระตุ้นให้รับประทาน
เคสนี้ให้ NPO
ได้รับยา Para syrup oral prn. q 4-6 hr. เมื่อมีอาการไข้
Paracetamol Syrup 120 mg/5cc (10 – 15 mg/Kg/Dose)
กรณีศึกษาน้ำหนัก 10 kg กินประมาณ 1 ช้อนชาหรือ 5 cc.
ให้ดื่ม ORS
ORS 1 ซอง *3 oral pc
เด็กที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี
ให้ค่อย ๆ จิบ หรือป้อน ORS ครั้งละ 2 - 3 ออนซ์ (1/4 – ครึ่งแก้ว) ทุกครั้งที่ถ่ายเป็นน้ำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
Ceftriaxone 750 mg. IV OD.
ในเด็กใช้ขนาดไม่เกิน 50 – 75 mg/kg/day
Ulcerative colitis (ลำไส้ใหญ่อักเสบ)
อาการ
ถ่ายเหลวหรือถ่ายปนมูกหรือเลือดสด, มีเลือดออกทางทวารหนัก
ปวดเกร็งในช่องท้อง
กดเจ็บ, อาการปวดถ่ายตลอดเวลา
น้ำหนักตัวลดลง,
มีไข้, อาเจียน, ขาดน้ำ, ซีด
การดูแลรักษา
NC
ACTH (adrenocorticotropic hormone) และ corticosterolds
ให้ antibiotics (กรณีพบมี abscess, peritonitis)
ให้ Sulfonamides (Azulfidine), suifisoxazole (Gantrisin) ต้านการอักเสบ
4. ให้ยา antidiarrheal
3. แนะนำหลีกเลี่ยงอาหารที่อาจทำให้ถ่ายเหลว เช่น นม
ให้ IV fluid / ให้สารอาหาร High-protein, high-calorie, vitamin
NPO
อาหารเป็นพิษ (food poisoning)
อาหารเป็นพิษจากเชื้อ Sterptococcus
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน , ปวดบิด , ไข้สูง หนาวสั่น ปวดเมื่อย
การรักษา
ถ้ามีอาการรุนแรง หรือมีภาวะขาดน้ำรุนแรง ควรส่งโรงพยาบาล
ถ้าอาการไม่รุนแรงให้สารน้ำตาลเกลือแร่ และให้ยาลดไข้กรณีมีไข้
กลุ่ม 23 นางสาวอมลวรรณ ฤทธิ์จรูญ
เลขที่ 82 4B รหัศนักศึกษา 61106301173