Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 เรื่อง การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์, มาฝากครรภ์ครั้งแรกวันที่…
กรณีศึกษาที่ 1
เรื่อง การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การตรวจรร่ายกาย/ผลตรวจทางห้อปฏิบัติ
พบเส้นสีดำตัดผ่านสะดือแนวยาวจากระบัง
ลมถึงยอดหัวหน่าวระดับยอดมดลูก
(High Fundus) ระดับสะดือ
ปกติ
มีฝ้าและสิวขึ้นใบหน้า
เวียนศีรษะเป็นบางครั้ง
ปกติ
ฟันผุ 2 ซี่
เฝ้าระวัง
เต้านมหัวนมยาว 0.3 ซม.ทั้งสองข้าง
ผิดปกติ
รอยแตกสีเทาบริเวณหน้า
ท้องเป็นริ้ว ๆ จำนวนมาก
ปกติ
มีเส้นเลือดขอดบริเวณขา
ปกติ
ฟังบริเวณหน้าท้องได้ยินเสียงฟู ๆ
จำนวนครั้งต่อนาที มากกว่าอัตรา
การเต้นของหัวใจของหญิงตั้งครรภ์ FHS 146 bpm
ผิดปกติ
คลำท่าที่ 4 พบปลายนิ้วของ
ผู้ตรวจสอบชนกัน
บ่งบอกได้ว่าส่วนนำยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน
บริเวณยอดมดลูกคลำพบ ballottement
คลำท้องพบแผ่นเรียบเหมือนกระดานอยู่
ด้านซ้ายมือของหญิงตั้งครรภ์คลำ
พบก้อนนิ่มหยุ่น ๆบริเวณหัวเหน่า
บ่งบอกถึงการคลำพบก้นที่เป็นส่วนนำ BF (breech float)
ระดับยอดมดลูก 2/4>
ไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์ 7 เดือน
วัดขนาดของมดลูกได้ 30 ซม.
ปกติสัมพันธ์กับอายุครภ์ 7 เดือน
ระดับยอดมดลูก 1/4
ไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์ 6 เดือน
ขนาดของมดลูก 26 ชม.
สัมพันธ์กับอายุครรภ์ 6 เดือน
Hct 32.6% (20 week)
Hct 29% (28 week)
Hct 24% (34 week)
Hct ต่ำ มีภาวะ ซีด
VDRL reactive
ผิดปกติ มีการพบเชื้อซิฟิลิส
HIV Non reactive
ปกติ ไม่พบการติดเชื้อเอชไอวี
DCIP Negative
ปกติ ไม่มี Hb E
OF positive
ผิดปกติ มีการพบเชื้อ
มือเท้าและหน้าแข้งบวม +1
ปกติ เพราะการจากการตั้งครรภ์และการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน
อาการและอาการเเสดง/อาการไม่สุขสบายในแต่ละไตรมาส
ไตรมาสที่ 2
อาการคลื่นไส้ อาเจียน รับประทานอาหารไม่ค่อยได้
เกิดจากการเพิ่มของระดับฮอร์โมนที่ สร้างจากรกได้แก่ Human Chorionic Gonadotropin(HCG) และ Human Placental Lactogen (HPL)
การพยาบาล
5.หลังอาเจียนควรบ้วนปากให้สะอาดเพื่อขจัดกลิ่นที่จะทำให้คลื่นไส้อาเจียนอีกครั้ง
เเนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทำงานตามปกติพยายามอย่าให้ว่าง เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจจากอาการคลื่นไส้
แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันมาก ย่อยยาก อาหารที่มีกลิ่นแรงอาหารที่ทำให้เกิดก็าซในกระเพาะอาหารและลำไส้มากเพื่อลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
เมื่อเกิดอาการคลื่นไส้หรืออาเจียน แนะนำให้นอนพักประมาณ 15-20 นาที
แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันมาก ย่อยยาก อาหารที่มีกลิ่นแรงอาหารที่ทำให้เกิดก็าซในกระเพาะอาหารและลำไส้มากเพื่อลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
8.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการแปรงฟันหลังอาหารทันที เนื่องจากแปรงสีฟันจะไปกระตุ้นให้คลื่นไส้ได้
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ตื่นเช้า ก่อนลุกจากที่นอนให้รับประทานคาร์โบไฮเดรต โดยระวังอย่าให้กระเพาะอาหารว่างเพราะจะเป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียนมากขึ้น
แนะนำครอบครัวให้เอาใจใส่ และให้กำลังใจหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดความวิตกกังวล
1.อธิบายให้มารดาเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายขณะตั้งครรภ์
ถ้ามีปัญหาทางจิตใจแพทย์จะให้การรักษาทางจิตควบคู่กันไปด้วย บางครั้งอาจต้องแยกจากสิ่งแวดล้อมเดิมและอาจต้องได้ยาระงับประสาทเพื่อให้ได้พัก
ปวดหลังส่วนล่าง
เกิดจากการที่มดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้นทำให้มีการยืดขยายของ Round ligament
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้จัดท่านอนตะแคงซ้ายให้ใช้หมอนรองรับมดลูกไว้
เมื่อครรภ์แก่แนะนำให้ใช้ผ้าแถบหรือผ้ายืดรัดท้องพยุงไว้
แนะนำให้บรรเทาอาการนี้ด้วยการอาบน้ำอุ่น
ถ้ามีอาการบ่อยๆ แนะนำให้ไปพบแพทย์เพื่อตรวจว่ามีภาวะซีดหรือไม่
ปัสสาวะบ่อย
กรณีศึกษาปัสสาวะบ่อย เกิดจากการที่มดลูกโตไปกดกระเพาะปัสสาวะทำให้กระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำไม่ให้กลั้นปัสสาวะ เพราะอาจทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและทำให้มีอาการปัสสาวะบ่อยมากขึ้น
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ จากด้านหน้าไปยังทวารหนักเพื่อป้องกันการนำเชื้อโรค จากทวารหนักมาทำให้เกิดการติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
สอนการฝึกบริหารกล้ามเนื้อหูรูดกระเพาะปัสสาวะ โดยการขมิบก้น (Kegel exercises) วันละ 50-100 ครั้ง เพื่อให้กล้ามเนื้อควบคุมการปัสสาวะได้ดี
แนะนำให้ดื่มน้ำให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 2,000 ซี.ซี. หรือประมาณ 8 แก้วต่อวัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะที่เป็นสาเหตุให้ปัสสาวะบ่อยได้
งดการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เพราะทำให้ปัสสาวะบ่อยขึ้น
7.ถ้ามีอาการปัสสาวะบ่อยร่วมกับอาการแสบขัด ควรมาปรึกษาแพทย์
1.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มหรือนมก่อนนอน หรือดื่มให้ห่างจากเวลานอนให้มาก เพื่อลดการปัสสาวะบ่อยในช่วงกลางคืน ถ้าต้องลุกมาถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืนต้องระวังอย่าให้มีของวางเกะกะกีดขวาง ทางเดินเพราะจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้
ท้องผูก
เกิดจากการทำงานของลำไส้ลดลง ซึ่งเป็นผลจาก Progesterone และมดลูก กดเบียดการทำงานของลำไส้
กิจกรรมการพยาบาล
ไม่ควรใช้การสวนอุจจาระยาถ่าย หรือยาระบายยกเว้นได้รับคำแนะนำจากแพทย์
หลีกเลี่ยงการใช้ mineral oil เนื่องจากจะไปลดการดูดซึมวิตามิน A. D. E และK.
4.แนะนำให้ฝึกขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลาและสม่ำเสมอ
ในกรณีที่มีอาการ hemorrhoid แพทย์อาจพิจารณาให้ยาเหน็บ
แนะนำให้ออกกำลังกายเบาๆ ทุกวันอย่างน้อยวันละ 30 นาที
แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นในเวลาเช้าและดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 6 แก้ว
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใยมากๆ เช่น ผักสด ผลไม้และ แนะนำให้รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่ให้บ่อยครั้งเพราะการรับประทานอาหารมากไปจะทำให้อาหารหมักหมมอยู่ในกระเพาะอาหารนาน
งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา เพราะเครื่องดื่มประเภทนี้มีผลขับน้ำออกจากร่างกาย
เรอเปรี้ยวบ่อยครั้ง
เกิดจากกระเพาะอาหารถูกเบียดหรือเปลี่ยนตำแหน่งทำให้เกิดกรดไหลย้อนมาที่หลอดอาหารส่วนล่าง
การพยาบาล
2.แนะนำให้พยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่เกิดกา็ซและอาหารประเภทไขมัน
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารครั้งละมาก ๆ งดอาหารรสจัด รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย เคี้ยว ให้ละเอียดและเคี้ยวช้า ๆ
1.อธิบายว่าเป็นภาวะปกติพบได้ในขณะตั้งครรภ์เนื่องจากเป็นผลของ Progesterone
ภายหลังรับประทานอาหารเสร็จควรนั่งพักประมาณ 30 นาทีไม่ควรนอนทันท
แนะนำให้นอนในท่าศีรษะสูงไม่ควรนอนหงายเพื่อป้องกันกรดไหลย้อน
ขณะมีอาการแนะนำให้จิบน้ำหรือนมบ่อย ๆ และควรนั่งหรือนอนศีรษะสูงเพื่อป้องกันน้ำย่อยถูกดันออกมาจากกระเพาะอาหาร
7.หลีกเลี่ยงกาแฟ บุหรี่ เนื่องจากกาแฟและบุหรี่จะกระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
8.แนะนำให้รับประทานอาหารมื้อสุดท้าย 3 ชั่วโมงก่อนนอน
9.ถ้ามีอาการแสบร้อนยอดอกมากหรือเรอเปรี้ยวควรปรึกษาแพทย์เพื่อได้รับยาลดกรด(Antacid) รับประทานระหว่างมื้อ แต่ต้องระวังไม่ดื่มน้ำส้มหรือน้ำมะนาวพร้อมกับยาพวกนี้ เพราะจะไปต้านฤทธิ์ยา
ไตรมาสที่ 3
ขณะนอนอัลตราซาวด์ที่แผนกฝากครรภ์ (ANC) มีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น หน้ามืด ตาลาย มีความวิตกกังวล
อาจเกิดจากสตรีตั้งครรภ์มีความวิตกกังวลในการตั้งครรภ์เเละเกิดความดันโลหิตต่ำเมื่อนอนหงาย เนื่องจากมดลูกไปกดทับเส้นเลือด Inferior vena cava และเส้น เลือดดำใหญ่บริเวณเชิงกราน ทำให้การไหลกลับของเลือดสู่หัวใจน้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้งเพื่อป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ถ้ามีอาการบ่อยๆ ควรพบแพทย์เพื่อตรวจว่ามีภาวะซีดหรือไม่
แนะนำให้รีบนอนตะแคงซ้ายทันทีที่สังเกตว่าเริ่มมีอาการ
มีเส้นเลือดขอดบริเวณขา
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนทำให้กล้ามเนื้อเรียบและลิ้นกั้นหลอดเลือดดำคลายตัวไหลกลับไม่สะดวกที่ทำให้เกิดการอักเสบของหอดเลือดดำ
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้เลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง (Crossing the legs)
แนะนำให้สวมถุงน่อง หรือพันผ้ายืดจากปลายเท้าถึงเข่า
เเนะนำไม่ให้ยืนหรือนั่งนานๆ ควรเปลี่ยนอิริยาบทบ่อยๆ เพื่อช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น และควรยกปลายเท้าสูงกว่าสะโพกประมาณ 45 องศา วันละ 4-5 ครั้ง ครั้งละ 5-10 นาที (ถ้ายกขาสูงเกินไปจะขัดขวางการไหลเวียนได้)
การซักประวัติ/ประเมินทั่วไป
อายุครรภ์
5เดือน หรือ 20 week
65 กิโลกรัมความสูง 162 เซนติเมตร (เหมาะสม)
การฝากครรภ์
ฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์5 เดือน(มีความล่าช้า)
การเปลี่ยนแปลงเด้านจิตใจ : "อยากมีลูก แต่รู้สึกไม่พร้อมตอนนี้"
-เปิดโอกาสให้มารดาระบายความรู้สึก
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับบทบาทของมารดา ร่วมกับบิดา
สนับสนุนให้สามี/ครอบครัวพูดให้กำลังใจ
สัญญาณชีพ
PR = 86 /min.
RR = 20 /min.
BT = 36.9 องศาเซลเซียส
BP = 128/76 mmHg
ข้อมูลส่วนบุคคล
อาชีพ
อาชีพรับราชการครู (ไม่มีความเสี่ยง)
อายุ
อายุ 28 ปี (เหมาะสม)
การรักษา
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง จากงานวิจัยวิธีการส่งเสริมการป้องกันภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์: การทบทวนอย่างเป็นระบบ
การให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เกี่ยวกับโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก สาเหตุ การประเมินภาวะโลหิตจาง ความรุนแรงของโรค ผลกระทบต่อมารดาและทารก การป้องกัน และการรักษา
การส่งเสริมให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงก็เป็นสิ่งสําคัญโดยอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงพบได้ในตับหอยนางรมไข่แดงเนื้อแดงผักใบเขียวลูกเกดลูกพรุนและธัญพืช ซึ่งธาตุเหล็กในอาหารทั่วไปจะอยู่ใน 2 รูปแบบคือธาตุเหล็กในรูปแบบสารประกอบฮีม (heme iron) และธาตุเหล็กในรูปแบบสารประกอบที่ไม่ใช่ฮีม (non heme iron) ซึ่งธาตุเหล็กในรูปแบบสารประกอบฮีมพบมากในแหล่งอาหารที่เป็นเนื้อสัตว์เช่นเลือดตับเนื้อสัตว์ต่างๆโดยเฉพาะเนื้อแดงร่างกายจะสามารถดูดซึมและนำไปใช้ได้ดีสําหรับธาตุเหล็กในรูปแบบสารประกอบที่ไม่ใช่ฮีมพบได้ในอาหารประเภทธัญพืชแป้งไข่ผักใบเขียวเข้มรวมทั้งถั่วเมล็ดแห้งซึ่งร่างกายจะดูดซึมธาตุเหล็กไปใช้ได้น้อยกว่าประเภทอืมมากเนื่องจากอาหารประเภทนี้ต้องอาศัยกรดเกลือในกระเพาะอาหารช่วยทำให้ธาตุเหล็กออกมาจากอาหารก่อนจากนั้นร่างกายจึงสามารถดูดซึมที่เยื่อบุผิวของลำไส้เล็กได้
จัดให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางระหว่าง สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง ร่วมกันวิเคราะห์ สาเหตุ และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน ซึ่งการได้รับฟัง ปัญหาจากกลุ่มที่มีปัญหาคล้ายกันจะช่วยให้สตรี ตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง เกิดความเข้าใจ และมีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม อีกทั้งยังเป็นวิธีการที่ให้สมาชิกทุกคน ได้มีโอกาสเรียนรู้สภาพอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ของสมาชิกในกลุ่ม ฝึกการแก้ไขปัญหา ตลอดจน การให้เหตุผล และการตัดสินใจอีกด้วย
4.สนับสนุนให้ครอบครัวหรือสามีมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์ใน การปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เช่น จัดหาอาหารที่มี ธาตุเหล็กสูงมาให้รับประทาน กระตุ้นเตือน การรับประทานยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก เป็นต้น เนื่องจากครอบครัวหรือสามีเป็นบุคคลที่มีความ ใกล้ชิดกับหญิงตั้งครรภ์ มีความรักความผูกพัน การมีส่วนร่วมของครอบครัวหรือสามีจะทำให้เกิด ความเป็นเจ้าของ และทำให้ทราบข้อเท็จจริง สามารถนำมาวางแผนดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ได้ อย่างเหมาะสม และยังช่วยให้สตรีตั้งครรภ์รู้สึก อบอุ่น มีกำลังใจที่จะปฏิบัติตัวอย่างต่อเนื่อง
ส่งเสริมให้รับประทานยาเสริมธาตุเหล็กและการส่งเสริมให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงเนื่องจากสตรีตั้งครรภ์มีความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการสร้างเม็ดเลือดและใช้ในการเจริญเติบโตของทารกสำหรับการส่งเสริมให้รับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กทุกรายโดยแนะนำให้ได้รับยาที่มีธาตุเหล็กแตกตัวแล้ว (elemental iron) ประมาณวันละ 30-60 มิลลิกรัมโดยการให้ยาเสริมธาตุเหล็กหรือยาเสริมธาตุเหล็กร่วมกับกรดโฟลิค (folic acid) จำนวน 49 การศึกษาพบว่าการให้ยาเสริมธาตุเหล็กทุกวันมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มระดับฮีโมโกลบินของสตรีตั้งครรภ์ทั้งก่อนและหลังคลอดรวมถึงลดความเสี่ยงของภาวะโลหิตจางในขณะคลอด
สตรีตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็กเช่นชากาแฟเป็นต้นและควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินซีสูงเพื่อส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็ก
วางแผนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
มีดังนี้
แนะนำให้รักษาความสะอาดของร่างกายขณะที่ตั้งครรภ์จะรู้สึกร้อนและเหงื่อออกมากควรอาบน้ำเพื่อให้ร่างกายสะอาดสดชื่น แต่ถ้าอากาศเย็นควรอาบน้าอุ่นและควรให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายให้เพียงพอถ้าผิวหนังแห้งแนะนำให้ใช้โลชั่นทาหลังอาบน้ำ
แนะนําให้ลดการรับประทานอาหารเค็ม แต่แนะนําให้เพิ่มอาหารที่มีโพแทสเซียมสูงเช่นกล้วยมะละกอเป็นต้น
แนะน่าเกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันหญิงตั้งครรภ์มักจะมีปัญหาเหงือกอักเสบและฟันผุง่ายจึงแนะนำให้แปรงฟันในตอนเช้าและก่อนนอนอย่างถูกวิธีและควรแปรงเพิ่มหลังรับประทานอาหารเมื่อดื่มน้ำหวานและลูกกวาดก็ควรบ้วนปากด้วยน้ำเปล่าทุกครั้งหากมีปัญหาช่องปากควรรีบพบทันตแพทย์
แนะนำการหลีกเลี่ยงการดื่มคาเฟอีน ควรดื่มน้ำวันละ 2 ลิตร
แนะน่าให้นอนหลับกลางคืนโดยควรนอนหลับให้เต็มอิ่มประมาณ 8-10 ชั่วโมงและควรหาเวลานอนพักในตอนบ่ายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง
แนะนําเกี่ยวกับการดูแลเต้านมขณะตั้งครรภ์เนื่องจากเต้านมจะขยายตัวเพื่อเตรียมสร้างบ้านมให้ลูกน้อยจึงแนะยกทรงให้มีขนาดพอเหมาะใสสบายพยุงทรงไว้หญิงตั้งครรภ์บางคนอาจมีน่านมไหลมออกมาขณะตั้งครรภ์งอาจพบได้ไม่ปกติเมื่ออาบนํ้าให้ล้างเต้านมด้วยน้ำสะอาดทําให้ผิวหนังแห้งตึงเกิดอาการระคายเคืองหรือคันถ้ามีปัญหาหัวนมสั่นหัวนมบอดหรือผิดปกติแนะนำให้ดูแลแก้ไขก่อนที่จะคลอดเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการให้นมลูก
แนะน่าให้ออกกําลังกายเพื่อช่วยให้การย่อยอาหารดีร่างกายแข็งแรง โดยออกกำลังกาย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละ 25-30 นาที เช่นเดินในทีที่มีอากาศปลอดโปร่งทํางานบ้านเบา ๆ บริหารร่างกายด้วยท่าง่ายๆ ข้อควรระวังคืออย่าออกกาลังกายหักโหมจนร่างกายอ่อนเพลียหรือกระทบกระเทือนท้อง
วัคซีน
วัคซีนที่ควรได้รับสําหรับสตรีในระยะตั้งครรภ์
วัคซีน Influenza IV
วัคซีนHepatitis A
วัคซีน Tdap
ควรได้รับวัคซีน Tdap ในระหว่างอายุครรภ์ 27-36
วัคซีนHepatitis B
วัคซีนที่ห้ามฉีดในสตรีตั้งครรภ์
วัคซีนอีสุกอีใส (varicella)
งูสวัต (zoster)
วัคซีน MMR
ไข้หวัดใหญ่ชนิด LAIV
มาฝากครรภ์ครั้งแรกวันที่ 1 มีนาคม 2564 LMP 1 ตุลาคม 2563