Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อที่ 10 หลักการทางการศึกษาที่เป็นฐานคิดวิถีไทย - Coggle Diagram
หัวข้อที่ 10 หลักการทางการศึกษาที่เป็นฐานคิดวิถีไทย
10.1 หลักการทางการศึกษาที่เป็นฐานคิดวิถีไทย อดีต -ปัจจุบัน
สมัยโบราณ(สุโขทัย พ.ศ.1781-รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ.2411) แหล่งให้ความรู้มีบ้านและวัด โดยมีพระเป็นผู้ให้ความรู้ อบรมด้านธรรมะ ผู้ชายนิยมบวชเรียน และบ้านมีพ่อแม่ให้การอบรมสั่งสอนเพศหญิงจะมีการเรียนด้านแม่บ้านแม่เรือน
สมัยปฎิรูปการศึกษา (พ.ศ.2412-พ.ศ.2477) เป็นการศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนประกอบอาชีพและเน้นการรับราชการร.5 จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการร.6 จัดตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
สมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูฐ จะมีการสอนโดยทั่วถึง มีการกำหนดโครงสร้างการศึกษา
10.2 หลักการทางการศึกษาที่เป็นฐานคิดวิถีไทย : พรบ การศึกษา 2542
มาตรา 4 การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคม
มาตรา 8 หลักการจัดการศึกษา มีองค์ประกอบเป็นการศึกษาตลอดชีวิต สำหรับประชาชนให้สังคมมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาการพัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรู้ ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องมาตรา 13 บิดามารดา หรือผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ( การศึกษาตามอัธยาศัย )
มาตรา 14 บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และอื่น ๆ มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
( การศึกษาตามอัธยาศัย )
10.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ฐานคิดวิถีไทยทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C
3 R ได้แก่
การอ่าน (Reading)
การเขียน(Writing)
คณิตศาสตร์ (Arithmetic)
4 C ได้แก่
(Critical Thinking (การคิดวิเคราะห์), Communication (การสื่อสาร)
Collaboration (การร่วมมือ )
Creativity (ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อ)
10.4 แนวทางการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง ในสังคมประชาธิปไตย
ควรมีคุณสมบัติได้ 6 ประการดังต่อไปนี้
1.มีอิสรภาพ และพึ่งตนเองได้
เคารพสิทธิผู้อื่น ไม่ใช้สิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิดสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น
เคารพความแตกต่าง มีทักษะในการฟัง และยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างจากตนเอง
เคารพหลักความเสมอภาค เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น
เคารพกติกา เคารพกฎหมาย ใช้กติกาในการแก้ปัญหา
รับผิดชอบต่อสังคม ตระหนักว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
10.5 แนวคิดการจัดการศึกษาสร้างสรรค์ (Creative Education)
มุ่งเน้นการพัฒนาแบบมีศักย์ภาพแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดผลิตภาพ
10.6 การศึกษาไทย 4.0
มุ่งเน้นได้นวัตกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เช่น STEM (วิทยาศาสตร์,เทคโนโลยี,วิศวกรรม,คณิตศาสตร์