Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Study 2 - Coggle Diagram
Case Study 2
การพยาบาล
ระยะที่ 1
- ความสุขสบายและสิ่งแวดล้อม
- ดูแลสุขอนามัยร่างกาย ปากฟันให้สะอาด
- ช่วงที่งดนำ้งดอาหาร ควรดูแลให้บ้วนปากบ่อยๆ และดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำอย่างเพียงพอ
- จัดให้มีผ้าปูเตียง เสื้อผ้า ที่แห้งสะอาด ควรมีผ้าเตี่ยวรองเลือดหรือน้ำคร่า และเปลี่ยนผ้า ให้บ่อยๆ
- จัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นส่วนตัว ไม่พลุกพล่าน ไม่เกิดอุบัติเหตุ
- ใช้เสียงดนตรี ระดับเสียง 45-50 เดซิเบล จังหวะ 60-80 ครั้งต่อนาที หรือเหมือนเสียงฝนตกในระดับปานกลาง
-
ดูแลให้ผู้คลอดพักผ่อน โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ไม่มีแสงสว่างหรือเสียงดัง รบกวน มีความเป็นส่วนตัว ดูแลให้ได้รับสารน้าอย่างเพียงพอ
-
ท่าที่ควรหลีกเลี่ยง คือ ท่านอนหงายเป็นเวลานาน จะทำให้มดลูกกดทับหลอดเลือด inferior vena cava เกิดภาวะ supine hypotensive syndrome ได้ แก้ไขโดยให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย เพื่อให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงมดลูกได้เพิ่มขึ้น
- การสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทั่วไปและป้องกันการติดเชื้อ
- การบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
2) ช่วยเหลือให้ผู้คลอดสามารถบรรเทาความเจ็บปวดได้เช่น การผ่อนคลาย การใช้เทคนิคการหายใจ การลูบหน้าท้อง
-
- การพยาบาลเมื่อเข้าปลายระยะที่หนึ่งต่อระยะที่สองของการคลอด
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้คลอดหายใจแบบตื้น เร็ว เบา และเป่าออก (pant-blow breathing) จะช่วยให้ความรู้สึกอยากเบ่งคลอดลดลง
-
ระยะที่2
1.ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดโดยการตรวจภายในเพื่อดูการเคลื่อนต่ำของส่วนนํา การสังเกตฝีเย็บตําแหน่ง FHS ถ้าการหดรัดตัวของมดลูกดี แรงเบ่งดี การเคลื่อนต่ำก็ปกติ โดยปกติครรภ์แรก > 1 ซ.ม./ช.ม. ในครรภ์หลัง > 2 ซ.ม./ช.ม.
2.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ปกติมดลูกจะมีการหดรัดตัวทุก 2 – 3 นาที นาน 60 – 60 วินาที ความรุนแรงระดับมาก ถ้ามดลูกหดรัดตัวมากหรือน้อยเกินไปกไ็ ม่เป็นผลดีต่อการคลอด และทารกในครรภ์
- แรงเบ่ง ประเมินว่ามารดาเบ่งถูกต้องหรือไม่ ถ้าเบ่งแล้วไม่มีความก้าวหน้าของการคลอดไม่ได้ หมายความว่าแรงเบ่งน้อย ( poor maternal effort ) เสมอไป อาจมีภาวะCPD หรือท่าทารก ผิดปกติ
4.ประเมินกระเพาะปัสสาวะ ให้มีการปัสสาวะทุก2-3 ชั่วโมง หากกระเพาะปัสสาวะเต็มจะขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกและการเคลื่อนต่ำของส่วนนํา
5.การประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ ประเมิน FHS ทุก 15 นาที ในรายที่ผิดปกติอาจฟัง ทุก 5 นาทีหรือติด monitor ไว้
-
- ประเมินสภาพมารดาเกี่ยวกับอาการอ่อนเพลีย ระดับความเจ็บปวด และพฤติกรรมต่างๆ
-
-
ระยะที่ 3
- ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างเสมอ เพื่อลดการขัดขวางการหดรัดตัวของดลูก
- การประเมินสัญญาณชีพ ทั้งก่อนและหลังรกคลอดทันที
-
-
- การประเมินลักษณะและการหดรัดตัวของมดลูกระยะหลังคลอด
หากหลังคลอดแล้วมดลูกอยู่ต่ำกว่าระดับสะดือ 1 นิ้ว
-
- ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด หากออกมากให้รีบหาสาเหตุและแก้ไขปัญหา
ประเมินการฉีกขาดของแผลฝีเย็บร่วมด้วย
- ประเมินอาการของรกลอกตัว อาการแสดงของรกลอกตัวอาจมีให้เห็นภายใน5นาทีหลังทารกคลอด
- ดูแลความสะอาดทั้งมารดาและสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- การจัดท่าทางผู้ป่วย โดยใช้ท่านอนหงายเพื่อสะดวกในการสังเกตอาการเปลี่ยนแปลง และ สะดวกในการทําคลอดรก
- การป้องกันการตกเลือด การดูแลแบบ Active management in 3 stage of labor
-
-
ให้ oxytocin: โดยหลังทารกคลอดไหล่หน้า ถ้ามั่นใจว่าทารกคนเดียว
ให้ฉีด oxytocin 10 unit เข้ากล้ามเนื้อมารดาหรือเข้าหลอดเลือดดำช้าๆ ภายใน 1 นาที ( ในกรณีไม่มั่นใจ ให้รอทารกคลอดเสร็จ แล้วใช้มือคลำหน้าท้อง เพื่อพิสูจน์ว่าไม่มีทารกอีกคนในมดลูก แล้วจึงให้ยาฉีด Oxytocin
-
- ตรวจรกและเยื่อหุ้มทารกอย่างละเอียด
ระยะที่ 4
- ประเมินการฉีกขาดของฝีเย็บ เป็นสิ่งสําคัญที่พยาบาลจะต้องประเมินให้ถูกต้องแม่นยํา เนื่องจาก การฉีกขาดของช่องทางคลอดส่งผลกระทบ คือ
- ทําให้เสียเลือดมาก ถ้าหากมีการฉีกขาดที่ลึกและกว้างมาก การเสียเลือด อาจนำไปสู่การเสียชีวิตได้
- ทําให้เกิดการหย่อนยานของกล้ามเนื้อรอบๆปากช่องคลอดและอุ้งเชิงกรานทําให้มีปัญหาในการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะตามมาภายหลังได้
- เกิดการติดเชื้อ
- มีก้อนเลือดคั่งใต้แผล (Hematoma)
5.ประเมินการเสียเลือดโดยปกติจะเสียเลือดทั้งหมดประมาณ300ซีซี.ถ้ามารดามีการเสียเลือด มากกว่า 500 ซีซี.จะถือว่ามีการตกเลือดหลังคลอด
7.การซ่อมแซมฝีเย็บ การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการเสียเลือดจากบริเวณแผล หลักในการเย็บซ่อมแซมฝีเย็บคือต้องยึด หลักสะอาดปราศจากเชื้อ พยายามเย็บซ่อมแซมให้ช่องทางคลอดและ pelvic floor ให้คงสภาพเดิมมากที่สุด การเย็บซ่อมแซมต้องเย็บแผลจากชั้นในออกมาชั้นนอก ขอบแผลต้องเรียบไม่ย่น
- ดูแลความสะอาดของร่างกาย โดยการเช็ดหน้าและร่างกายด้วยน้ําสะอาดเพื่อให้ มารดาสดชื่น เปลี่ยนเสื้อผ้าและผ้าอนามัยให้เมื่อสกปรกหรือมีเลือดชุ่ม
- การบรรเทาปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ เช่น การประคบเย็น การให้ยาลดปวด
- ประเมินการหดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการหดรัดตัวของมดลูกและระดับของมดลูกทุก15นาที ในชั่วโมงแรก และ 30 นาที ในชั่วโมงที่ 2 หลังคลอดรก มดลูกอยู่ต่ำกว่าระดับสะดือ 4 เซนติเมตร หากมดลูกอยู่สูงกว่าปกติ อาจมีก้อนเลือดอยู่ในโพรงมดลูก ต้องคลึงมดลูกและไล่ก้อนเลือดออก
- ประเมินอาการเจ็บปวด ในระยะนี้มีการเจ็บปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ ถ้าแผลฝีเย็บบวม มาก มารดาบ่นปวดมาก ให้ประเมินดูว่ามี Hematoma หรือไม่
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 1⁄2 ชั่งโมง ในชั่วโมงแรก หลังจากนั้น ประเมินทุก 1 ชั่วโมง อาจพบว่า อุณหภูมิอาจสูงกว่าปกติเล็กน้อย เรียกว่า reactionary fever ซึ่งพบได้ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
- ประเมินสภาพทั่วไป มารดาหลังคลอดจะรู้สึกอ่อนเพลีย จากการเสียเลือดและพลังงาน แต่มารดาจะรู้สึกดีที่ผ่านการคลอดอย่างปลอดภัย จึงควรนําบุตรมาวางใกล้ๆ และให้ญาติเข้ามาดูแลเพื่อให้เกิด ความอบอุ่น ดูมารดาให้ได้รับความสุขสบาย ดูแลความสะอาด ให้ความอบอุ่นร่างกาย ดูแลให้ได้รับน้ําและ อาหารอย่างเพียงพอ
-
- ดูแลให้มารดาพักผ่อนอย่างเต็มที่ ควร ให้ความอบอุ่นแก่มารดาโดยการห่มผ้าหรือวางกระเป๋าน้ําร้อนให้ แต่ไม่ควรวางกระเป๋าน้ําร้อนบริเวณหน้าท้อง เพราะความร้อนจะทําให้เส้นเลือดขยายตัวและตก เลือดหลังคลอดได้
- ดูแลให้มารดาได้รับประทานอาหารเหลวหรืออาหารอ่อน เพราะในระยะคลอดมารดามักจะ ถูกจํากัดน้ําและอาหาร ร่างกายมีการเสียพลังงาน เสียน้ําและ เลือดไปกับการคลอดจึงทําให้มารดาอ่อนเพลีย ควรให้มารดาได้ดื่มน้ํา นมหรือน้ําผลไม้
จากวิจัยเรื่อง "ผลของการใช้ถุงมือเย็นนวดมดลูกต่อการสูญเสียเลือดและระดับยอดของมดลูกในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอดในผู้คลอดทารกครรภ์แรก" พบว่า การใช้ถุงมือเย็นนวดคลึงมดลูกผ่านทางหน้าท้อง สามารถกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดี ป้องกันการตกเลือดหลังคลอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
-
การตรวจร่างกาย
-
การตรวจร่างกายมารดา
การตรวจร่างกาย
Vital signs
-เวลา 01.00 น
BP 120/70 mmHg
RR 16 bpm
PR 68 bpm
BT 37.1 C
-เวลา 09.30 น
BP 124/86 mmHg
RR 22 bpm
PR 90 bpm
BT 37.3 C
จากข้อมูลกรณีศึกษา แปลผล ปกติ
RR ปกติ 12-20 bpm
จากข้อมูลกรณีศึกษา แปลผล ปกติ
PR ปกติ 60-100 bpm
จากข้อมูลกรณีศึกษา แปลผล ปกติ
BT ปกติ 36.5-37.5 C
จากข้อมูลกรณีศึกษา แปลผล ปกติ
BP ปกติ 90/60 - 140/90 mmHg
-