Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๑๘
๓) ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
มาตรา ๑๘ กรรมการนอกจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษาต้องมี
คุณสมบัติดังต่อไปนี้
(๑) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ การพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ (๒) ไม่เคยถูกสั่งพักใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนญุาต (
มาตรา ๑๗
มาตรา ๑๗ การเลือกตัง กรรมการตามมาตรา ๑๔
การแต่งตัง กรรมการที ปรึกษาตามมาตรา
๑๕ และการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตำแหน่งต่างๆ ตามมาตรา ๑๖ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการ
พยาบาล
มาตรา 13
สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญสินสุดลงเมื่อ
ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 11 (1)
มาตรา 14
ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล ประกอบด้วย
ผู้แทนกระทรวงสาธารณะสุข 5 คน
ผู้แทนกระทรวงกลาโหม 3 คน
ผู้แทนกระทรวงทบวงมหาวิทยาลัย 4 คน
ผู้แทนกรุงเทพมหานคร 1 คน
นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนี และสมาชิกสามัญสภาสภาการพยาบาลอีกสิบหกคนซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลเป็นกรรมการและให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ
มาตรา 4
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมายถึง วิชาชีพเกี่ยวกับการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การพยาบาล หมายถึง การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพการป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
การผดุงครรภ์ หมายความว่า การกระทำเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด
การกประกอบวิชาชีพการพยาบาล หมายความว่า การปฎิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยการกระทำต่อไปนี้
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษา
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล
การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น
ช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
มาตรา 5
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญยัติ
มาตรา 6
ให้มีสภาการพยาบาล มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา 7
มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
ควบคุมประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ
ส่งเสริมการศึกษา การบริการ
ส่งเสริมความสามัคคี
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่และให้การศึกษา
ให้คำปรึกษา หรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาล
เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพ
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
มาตรา 8
รับขึ้นทะเบียนและต่อใบอนุญาต
สั่งพักใช้ใบอนุญาต
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
รับรองหลักสูตรต่างๆ
มาตรา 11
สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิจชตติมศักดิ์
มาตรา 10
ให้รัฐมนตรีดำรงตำแหน่งสภานายยกพิเศษแห่งสภาการพยาบาลและมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ
มาตรา 9
สภาากรพยาบาลอาจมีรายได้ดังต่อไปนี้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญต่าง ๆ
ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นๆ
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้ให้แก่สภาการพยาบาล
ดอก ผล ของเงินและทรัพย์สินอื่นๆ
มาตรา 1
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา 2
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็น พ.ศ. 2548
มาตรา 3
บรรดาบทกฎหมาย กฎและข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญยัตินี้ให้ใช้พระราชบัยญัติแทน
มาตรา 12
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ
ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาติ
แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาการพยาบาลส่งไปยังคณะกรรมการพิจารณา
เลือกตั้ง และรับเลือกตั้ง
ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพและปฎิบัติตนตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 15
คณะกรรมการอาจแต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ปรึกษาได้
มาตรา 17
ให้กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกตั้งวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และอาจได้รับแต่งตั้งหรือรับเลือกตั้งใหม่ได้
มาตรา 20
นอกจากพ้นตำแหน่งตามวาระกรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกตั้งพ้นจากตำแหน่ง