Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square Test) - Coggle Diagram
การทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square Test)
คุณลักษณะ
ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบปกติ
ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ด้วยไคสแควร์ต้องเป็นข้อมูลระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) หรือระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scale)
เป็นวิธีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรว่ามี
ความสัมพันธ์กันหรือไม่
หลักการของการทดสอบ
การหาความถี่คาดหวัง ต้องทราบสัดส่วนที่ตั้งไว้ในสมมติฐานแล้วนำไปคูณกับผลรวมความถี่ทั้งหมด
การทดสอบจะมีประสิทธิภาพนั้น n ควรมีขนาดมากพอที่ทำให้ค่าคาดหวังในแต่ละช่องมีค่าไม่ต่ำกว่า 5
เป็นการเปรียบเทียบความถี่ที่ได้จากตัวอย่าง หรือเรียกว่า “ความถี่
ที่สังเกต” (Observed frequency) กับความถี่ตามทฤษฎี หรือเรียกว่า “ความถี่คาดหวัง” (Expected frequency)
ข้อตกลงเบื้องต้นในการทดสอบ
ผลที่เกิด (Outcomes) ของตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน (Mutually Independence)
ค่าสังเกตแต่ละตัวต้องถูกจัดให้อยู่ในชั้นใดชั้นหนึ่งเท่านั้น
ตัวอย่างแต่ละชุดเป็นตัวอย่างที่ได้จากการสุ่ม
ประเภทของการทดสอบ
การทดสอบกรณีสองตัวแปรเพื่อดูว่าตัวแปรสองตัวมีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกันหรือไม่ หรือเรียกว่า การทดสอบความเป็นอิสระ (Test for Independence)
การทดสอบกรณีตัวแปรเดียว หรือการทดสอบภาวสารูปสนิทดี (Goodness of fit Test)
ขั้นตอนการทดสอบ
ตั้งสมมติฐานเพื่อการทดสอบ
คำนวณหาค่าคาดหวัง
ตรวจสอบข้อมูลว่าเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นในการทดสอบ
แทนค่าลงในสูตรคำนวณโดยใช้สูตรตามประเภทของการทดสอบ
ตรวจสอบข้อมูลว่ามีคุณลักษณะเหมาะสมกับการทดสอบหรือไม่
นำค่าไคสแควร์ที่คำนวณได้ไปเปรียบเทียบกับค่าวิกฤตที่ได้ จากการเปิดตาราง
ถ้าค่าที่คำนวณได้สูงกว่าค่าวิกฤตจะปฏิเสธ Ho และยอมรับ H1
สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน