Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสัมพันธ์ของการทำงาน ของระบบต่างๆในร่างกาย, นางสาว วรเนตร…
ความสัมพันธ์ของการทำงาน
ของระบบต่างๆในร่างกาย
กลุ่มอวัยวะที่สัมพันธ์
กับน้ำและเลือด
ผิวหนัง
แบ่งออกเป็น 2 ชั้น
คือ
1.หนังกำพร้า
เป็นส่วนที่ไม่มีความสัมพันธ์กับน้ำและเลือด
เพราะไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยง
2.หนังแท้
เป็นส่วนที่มีความสัมพันธ์กับน้ำและเลือด
เพราะมีปลายประสาทรับความรู้สึก
เช่น
ต่อมเหงื่อ
มีลักษณะเป็นท่อยาวทอดผ่านหนังกำพร้า
ลงไปถึงส่วนของหนังแท้
บริเวณที่มีต่อมเหงือมาก คือ รักแร้ ฝ่ามือฝ่าเท้า
เหงื่อ มีส่วนประกอบต่างๆ เช่น น้ำ ที่มีฤทธิ์เป็นกรด
รากขน
บริเวณตอนล่างเป็นรูปกระเปาะมีหนังแท้ ยื่นออกมาเรียก แฮร์พะพิลลา(Hair papilla) มีปลายประสาทและหลอดเลือดมาเลี้ยงจำนวนมาก
ต่อมไขมัน
มีมากที่หนังศรีษะและใบหน้า
ทำหน้าที่ขับสารคล้ายน้ำมันเรียกว่า ซีบัม(Sebum)มีลักษณะอ่อนนุ่มและลื่น ช่วยหล่อลื่นหนังกำพร้า ป้องกันผิวหนัง ป้องกันการสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย
หลอดเลือด
มีประโยชน์ในการให้อาหารมาเลี้ยงและขับของเสียออกนอกผิวหนัง
หัวใจ
มีเยื่อบุเป็นถุงหุ่ม เรียกว่า
เยื่อหุ่มหัวใจ
เป็นถุงมี ผนัง 2 ชิ้น คือ
Fibrous pericardium
มีความเหนียวมากกว่าภายใน
2.Serous pericardium
ความชื่น สร้างสารน้ำมาเพื่อลดการกระแทรกของหัวใจจาก
อวัยวะข้างเคียง
ส่วนที่ทำหน้าที่
เป็นวาล์วน้ำ คือ
Bicuspid ทำหน้าที่ กั้นหัวใจห้องบน-ล่างซ้าย ถ้าหลั่วจะทำให้เกิดโรค
2.Tricuspid ทำหน้าที่ กั้นหัวใจห้องบน-ล่างขวา และคอยปิด-เปิด เพื่อไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
ลิ้นหัวใจ
ทำหน้าที่ เปิดให้เลือดไหลผ่าน และปิดกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
การสูบฉีบเลือดไปยังอวัยวะต่างๆด้วยทางไฟฟ้าและการเต้นของหัวใจ
เลือดในระบบต่างๆจะไหลเข้าสู้หัวใจห้องบนและล่างขวา ทำให้เกิดกระบวนการไหลเวียนเลือด
สมอง
แบ่งออกเป็น
2.สมองส่วนกลาง
3.สมองส่วนหลัง
1.สมองส่วนหน้า
ส่วนที่มีความ
สัมพันธ์น้ำและเลือด คือ
ไฮโปทาลามัส
(Hypothalamus)
ทำหน้าที่ เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทอัตโนมัติ และสร้างฮอร์โมนเพื่อควบคุมการผลิตฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองซึ่งจะทำการควบคุมสมดุลของปริมาณน้ำและสารละลายในเลือด
ไต
เลือด
2.เมื่อหลอดเลือดนี้เข้าไตจะแตกแขนงเป็นอาร์เทอริโอล ( arteriole ) และเป็นหลอดเลือดฝอยซึ่งแต่ละเส้นจะขดเป็นโกลเมอรูลัส อยู่ในโบว์แมนส์แคปซูล
3.เลือดในโกลเมอรูลัสจะถูกกรองโดยใช้ผนังหลอดเลือดฝอยทำหน้าที่เป็นเยื่อกรอง
4.ของเหลวเหล่านี้ ได้แก่ สารประกอบโมเลกุลเล็ก ของเหลวที่ผ่านออกมาสู่ท่อของหน่วยไต เรียกว่า ของเหลวที่กรองได้ ( glomerular filtrate) กรองเลือดให้เป็นน้ำปัสสาวะ มีประมาณ 180 ลิตร เป็นอย่างน้อย ร่างกายจะนำของเสียออกมาทางน้ำปัสสาวะวันละประมาณ 1.5 ลิตร หากร่างกายไม่ดื่มน้ำเข้าไปทดแทนจะสูญเสียน้ำในร่างกาย
1.หลอดเลือดที่นำเลือดเข้าสู่ไตนั้น คือ รีนัลอาร์เทอรี ( renal artery )รับของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของเซลล์ทั่วร่างกายปะปนมาด้วย
(มากลับเม็ดเลือดแดง)
ส่วนที่เป็นน้ำดีจะถูกดูดกลับเข้าสู่น้ำเลือด
น้ำ
3.ควบคุมสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย (electrolyte balance)ขับแร่ธาตุส่วนเกินออกและดูดแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกายเข้าสู่ร่างกายผ่านหลอดไต
2.ควบคุมความสมดุลของน้ำ (Water balance) โดยทำหน้าที่ขับน้ำและ Sodium chlorine ที่เกินความจำเป็นแก่ร่างกาย ให้ออกจากร่างกาย
1.หน่วยไตทำหน้าที่ในการสร้างน้ำปัสสาวะ (Urine formation)
5.สร้างและหลั่งฮอร์โมนบางชนิด เช่น erythropoietin กระตุ้นไขกระดูกที่ต่อมหมวกไต
6.ทำลายสารพิษ (detoxification) ขับออกให้ปลนไปกลับปัสสาวะ
4.ควบคุมสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย (Acid-base regulation) ควบคุมสมดุลกรด-ด่างในน้ำเลือดโดยเลือดมี ค่าpHประมาณ 7.4
เป็นอวัยวะที่มีเลือดมาเลี้ยงมากที่สุด
คือมีเลือดมาเลี้ยง 20 เท่าของอวัยวะอื่น
1.ความซับซ้อน
ของสิ่งมีชีวิต
เกี่ยวเนื่องกับระบบต่างๆในร่างกายที่มีความซับซ้อนและเกิดเป็นการแสดงออกต่างๆในลักษณะนั้นๆ เช่น วิวัฒนาการของร่างกาย
3.กลุ่มอวัยวะที่สัมพันธ์กับ
การแลกเปลี่ยนออกซิเจน
1.หัวใจ
การสูบฉีบโลหิตเป็นกระบวนการหนึ่งที่
ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจน
คือ
เมื่อหัวใจห้องล่างขวาบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่หลอดเลือดไปยังปอด เมื่อมีการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน เลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูงจะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย
(Left Atrium )
1.เมื่อหัวใจบีบตัวเลือดจะไหลจากหัวใจห้องบนขวา ผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างขวา ( Right Ventricle )
3.เมื่อหัวใจห้องบนซ้ายบีบตัว เลือดจะไหลผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างซ้าย(Left Ventricle )
4.เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่หลอดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และเมื่อเลือดมีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำก็จะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนชวาเป็นเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป
ปอด
ส่วนที่มีการแลก
เปลี่ยนแก๊ส คือ
ถุงลมและ
หลอดเลือดฝอย
โดยระหว่างถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยกระจายในลักษณะตาข่าย ฉะนั้นเลือดกับอากาศในถุงลมจะถูกกั้นด้วยเนื้อเยื่อบางๆของถุงลมและของหลอดเลือดฝ่ายเท่านั้น ปกติแผ่นเยื่อมีความหนาเพียง 0.15-0.4 ไมครอน ซึ่งทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจน
4.กลุ่มอวัยวะที่สัมพันธ์กับการบดเคี้ยวย่อย
ดูดซึมสารอาหาร
5.ลำไส้เล็ก
ทำหน้าที่ ย่อยอาหารทุกประเภท และการย่อยแล้วจะถูกดูดซึมผ่านผนังลำไส้เล็กเข้าสู่หลอดเลือด
3.ตับอ่อน
เป็นอวัยวะที่ผลิตน้ำดีและส่งไปเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี
เพื่อช่วยในการย่อยไขมัน
อวัยวะบดเคี้ยว
ประกอบไปด้วย
ปาก
เป็นอวัยวะส่วนแรงของระบบย่อยสารอาหาร
ลิ้น
ทำหน้าที่ รับรสชาติอาหาร และคลุกเคล้าอาหารกับน้ำลายเพื่อรับรสชาติอาหารให้อาหารอ่อนนุ่ม กลืนสะดวก โดยน้ำลายยังมีน้ำย่อยช่วยย่อยอาหารจำพวกแป้งให้เป็นน้ำตาล
ฟัน
ทำหน้าที่ เคี้ยวอาหาร เช่น กัด ฉีก แทะ หรือบด ในขณะเดียวกันต่อมน้ำลายก็จะหลั่งน้ำลายออกมาช่วยคลุกเคล้าให้อาหารเป็นก้อนลื่นสะดวกต่อการกลืน
กระเพาะอาหาร
ทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยออกมา เพื่อย่อยอาหารพวกโปรตีนเท่านั้น
โดย กระเพาะอาหารจะบีบรัดตัวให้อาหารคลุกเคล้ากับน้ำย่อย
ในการดูดซึม
6.ลำไส้ใหญ่
ทำหน้าที่ดูดซึมน้ำและเกลือแร่บางส่วนที่เหลืออยู่ในกากอาหารทำให้กากอาหารเป็นก้อนอุจจาระ
ถุงน้ำดี
เมื่อรับประทานอาหารประเภทมัน ถุงน้ำดีจะปล่อยน้ำดีออกมาคลุกเคล้ากับอาหาร ทำให้ไขมันแตกตัวเป็นหยดเล็กๆ พร้อมที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย
7.ไส้ตรง
เป็นกากอาหารจะถูกขับออกมาทางทวาร
หนักเป็นส่วนสุดท้ายของการย่อยสารอาหาร
นางสาว วรเนตร คำสิงห์ เลขที่ 29 เภสัชปี1