Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต - Coggle Diagram
ทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต
ทฤษฎีสำหรับการพิจารณาวรรณคดี
ทฤษฎีธวนิ
(กล่าวถึงแล้ว)
ทฤษฎีอลังการ
คือ การใช้ถ้อยคำที่ไพเราะ
และโวหารที่มีความหมายลึกซึ้ง
อลังการทางเสียง
ยมก
= การซ้ำพยางค์ที่มีเสียงเหมือนกัน
แต่สื่อความหมายต่างกัน
ในคำประพันธ์วรรคเดียวกันหรือบทเดียวกัน
อนุปราส
การซ้ำเสียงพยัญชนะ
ในคำประพันธ์วรรคเดียวกัน
อลังการทางความหมาย
อุปมา
การนำสิ่งที่ต้องการแสดงลักษณะเด่น
ไปเปรียบกับอีกสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะเด่น
เป็นที่ยอมรับกันแล้ว
รูปกะ
การเปรียบเทียบคล้ายอุปมา
แต่กล่าวสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
อติศโยกติ
การกล่าวเกินจริง
อุปมารูปกะ
เป็นการเปรียบเทียบคล้ายกับรูปกะ
แต่จะไม่ลึกซึ้งเท่า
อุปเมโยปมา
เป็นการเปรียบอุปมาแบบ 2 ทาง
อนันวยะ
เป็นการเปรียบคล้ายกับอุปมา
แต่เปรียบกับตัวเอง
วยติเรกะ
เปรียบสองสิ่้ง แต่ให้สิ่งหนึ่ง
เหนือกว่าสิ่งหนึ่ง
ทฤษฎีคุณ
คือ สิ่งที่เชิดชูให้บทประพันธ์มีคุณค่ายิ่งขึ้น
จะต้องหลีกเลี่ยงมิให้มีโทษ
เศลษะ
ความกระชับของเสียงในคำที่ใช้
ปราสาทะ
ความกระจ่างชัดเจนของถ้อยคำ
สมตา
ความกลืมกลืนเสียงใน 1 วรรค/บท
มาธุรยะ
ความไพเราะของถ้อยคำ
สุกุมารตา
ความแผ่วเบาและความนุ่มนวล
อรรถวยักติ
ความสมบูรณ์ของความหมาย
อุทาระ
ความสูงส่งของเนื้อหาที่มุ่งจรรโลงใจ
โอชะ
ความเข้มข้นของพลังของความหมาย
กานติ
ความงามสง่าของถ้อยคำ ไม่ฟุ่มเฟือย
สมาธิ
ความหมายที่แฝงให้ผู้อ่านได้คิดต่อ/ตีความ
ทฤษฎีรีติ
ลีลาในการประพันธ์
ไวทรรดี = ลีลาที่ค่อนข้างร่าเริง กระจ่างชัด
เคาฑี = ลีลาที่ค่อนข้างรุนแรง
ปัญจาลี = ลีลาที่ผสมผสานระหว่างไวทรรดีและเคาฑี
ทฤษฎีวโกรกติ
ภาษาที่กล่าวโดยอ้อม โดยเน้นบทบาท
ของอลังการให้เด่นชัดขึ้น
ทฤษฎีอนุมิติ
เชื่อว่าการประพันธ์เกิดจากการอนุมาน
ทฤษฎีเอาจิตยะ
ความเหมาะสมของส่วนต่าง ๆ ในบทประพันธ์
ทฤษฎีที่ผลเกิดแก่ผู้อ่าน
ทฤษฎีรส
(กล่าวถึงแล้ว)