Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีรส-ธวนิ, วิภาวะ (เหตุ) + อนุภาวะ (ผล) + วยภิจาริภาวะ (ภาวะเสริม) -…
ทฤษฎีรส-ธวนิ
กระบวนการเกิดรส
รส 9 รส
รสในวรรณคดีสันสกฤต
สถายิภาวะ
ความรัก (รติ)
ศฤงคารรส
ความซาบซึ้งในความรัก
สัมโภคะ (รักของผู้ที่อยู่ด้วยกัน)
วิประลัมภะ (รักของผู้ที่อยู่ห่างกัน)
ความขบขัน (หาสะ)
หาสยรส
รสแห่งความสนุกสนาน
ความขบขันที่เกิดแก่ผู้อื่น
ความขบขันที่เกิดแก่ตนเอง
ความทุกข์โศก (โศกะ)
กรุณารส
รสแห่งความสงสาร
ความอยุติธรรม
ความเสื่อมทรัพย์
จากเหตุวิบัติ
ความโกรธ (โกรธะ)
เราทรรส
รสแห่งความแค้นเคือง
ศัตรู
ผู้ใหญ่
เพื่อนรัก
คนรับใช้
เกิดเอง
ความมุ่งมั่น (อุตสาหะ)
วีรรส
ความชื่นชมในความกล้าหาญ
กล้าให้ (ทานวีระ)
กล้าประพฤติธรรม/หน้าที่ (ธรรมวีระ)
กล้ารบ (รณวีระ)
ความเกรงกลัว (ถย)
ภยานกรส
ความเกรงกลัว
จากการหลอกลวง
จากการลงโทษ
จากการข่มขู่
ความน่ารังเกียจ (ชุคุปสา)
พีภัตสรส
ความเบื่อระอา ชิงชัง ขยะแขยง
จากสิ่งน่ารังเกียจที่ไม่สกปรก
จากสิ่งน่ารังเกียจที่สกปรก
ความน่าพิศวง (วิสมยะ)
อัทภูตรส
ความอัศจรรย์ใจ
จากสิ่งที่เป็นทิพย์ อภินิหาร
จากสิ่งที่น่ารื่นรมย์
ความสงบใจ (ศมะ)
ศานตรส
ความสงบ
จากความรู้จริงอย่างถ่องแท้ในโมกษะ
จากการตรัสรู้ในอาตมัน
ธวนิ
คือ วิญญาณของกวีนิพนธ์ที่ทำให้ผู้อ่านเกิดรส/
พลังความหมายของคำในบทประพันธ์
อภิธา = ควาหมายตามรูปคำ
เป็นความหมายพื้นฐาน
ลักษณา = ความหมายบ่งชี้
เป็นความหมายตามความเป็นจริง
วยัญชนา = ความหมายแนะ เป็นความหมายที่มีนัย
ทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกเพิ่มจากข้อเท็จจริง
คือ ปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่เกิดขึ้นในใจของผู้อ่าน
เมื่อได้รับรู้อารมณ์ที่กวีถ่ายทอดในวรรณคดีวรรณกรรม
วิภาวะ (เหตุ) + อนุภาวะ (ผล) +
วยภิจาริภาวะ (ภาวะเสริม)
สถายิภาวะ
พื้นอารมณ์ที่เกิดขึ้นเป็น
ปกติสามัญแก่มนุษย์