Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมจริยธรรมและความรับผิดชอบในเด็กปฐมวัย - Coggle Diagram
การส่งเสริมจริยธรรมและความรับผิดชอบในเด็กปฐมวัย
ความหมายของจริยธรรม
ว่า จริยธรรม หมายถึง แนวทางที่ควรประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงามให้เกิดขึ้นทั้งทางกาย วาจา และใจ โดยการกระทำนั้นก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเอง และต่อสังคม ทำให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
จริยธรรมกับการอบรมเลี้ยงดู
การเลี้ยงดูแบบให้ความรัก
จะทำให้เด็กรักผู้เลี้ยงดูและจะเลียนแบบพฤติกรรมผู้เลี้ยงดู
การเลี้ยงดูแบบควบคุม
เด็กจะมีลักษณะเชื่อฟัง สุภาพ เอื้อเฟื้อ
การเลี้ยงดูโดยให้เหตุผล
รู้จักผิดชอบชั่วดี มีพัฒนาการทางความรู้ มีความละอายต่อบาป
การเลี้ยงดูแบบลงโทษ
จะทำให้เด็กขาดลักษณะต่าง ๆ ทางจริยธรรม
การเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย
จะทำให้เด็กมีพัฒนาการทางจริยธรรมได้อย่างดีที่สุด
การเรียนรู้จริยธรรมของเด็ก
ซาบซึ้งในจิตใต้สำนึกจากพฤติกรรมของพ่อแม่
ได้รับแรงเสริมจากการแสดงพฤติกรรม
ได้ความคิดรวบยอด หรือแรงบันดาลใจจากค่านิยมทางจริยธรรม
การพัฒนาจิยธรรมของเด็ก
พัฒนาสภาพแวดล้อม
พัฒนาพฤติกรรม
พัฒนาจิตใจ
การเสริมแรง
กิจกรรมที่เด็กชอบ
แรงเสริมทางสังคม ได้แก่ การยอมรับและการพูด
การใช้เบี้ยอรรถกร ได้แก่ การใช้เบี้ย ดาว
อาหารหรือขนม
การสร้างเสริมความเมตตากรุณา
การไม่รังแกเพื่อนและรังแกสัตว์ให้ได้รับความทุกข์ ความทรมาน
การช่วยเหลือผู้อื่นที่อ่อนแอกว่า เช่น คนที่เด็กกว่าตนเอง คนชรา
การช่วยเหลือผู้ที่ติดทุกข์ได้ยาก เช่น ช่วยเหลือเพื่อนที่หกล้ม
การเสริมสร้างความซื่อสัตย์
การพูดความจริง ไม่โกหก
การเล่นตามกติกา
การปฏิบัติตามคำที่พูดไว้
การยอมรับผิดเมื่อทำผิด และกล่าวคำขอโทษ
เมื่อเก็บสิ่งของได้ต้องคืนเจ้าของ
การไม่ลักของเพื่อน
ประเภทของจริยธรรม
จริยธรรมธรรมชาติ เป็นลักษณะการกระทำดีละเว้นชั่วโดยธรรมชาติของตนเอง
จริยธรรมบังคับ เป็นลักษณะการทำดีเว้นชั่วเพราะถูกบังคับให้ทำ
จริยธรรมเจตนา เป็นจริยธรรมระดับสูงสุด เป็นการกระทำดีเว้นชั่ว อันเกิดจากเจตนาที่ตั้งใจ
วิธีส่งเสริมความรับผิดชอบ
ให้กำลังใจ สนับสนุน และพยายามเข้าใจเด็กให้ความช่วยเหลือ
จัดมอบหน้าที่ ๆ จะให้เด็กรับผิดชอบ ให้เหมาะกับความสนใจของเด็กแต่ละคน
ปลี่ยนแปลงกิจกรรมตามความสามารถ และพัฒนาการของเด็ก
การมอบหมายให้เด็กทำงานแล้วเด็กไม่ทำ
เด็กต้องใช้เวลาทำงานนั้นมากเกินไปหรือเปล่า
งานนั้นสำคัญสำหรับครอบครัวเพียงใด
เด็กได้เลือกงานเองหรือไม่
เด็กเบื่องานเองหรือไม่
เด็กได้รับการยกย่องสรรเสริญ เมื่องานบรรลุดีหรือไม่ หรือถูกตำหนิเมื่อทำไม่ดีเด็กมีความรู้สึกที่ดีต่องานที่มอบหมายให้ทำหรือเปล่า
การฝึกความรับผิดชอบ
ฝึกให้เด็กถือขวดนมดื่มเอง
ฝึกให้เด็กรับประทานอาหารเอง
ให้รู้จักแต่งตัวเอง เช่น ใส่เสื้อ กระโปรง หรือกางเกง
สอนให้ทำความสะอาดร่างกายตนเอง
ให้ช่วยทำงานบ้านเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น วางรองเท้าให้เป็นระเบียบ
มอบหน้าที่ให้ทำ เช่น รดน้ำต้นไม้ ให้อาหารสัตว์
ความรับผิดชอบ
ความหมาย
ความรับผิดชอบ หมายถึง ความเอาใจใส่ในสิ่งที่ได้รับมอบหมายจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับงาน หรือกิจกรรมต่าง ๆ จนสำเร็จลุล่วงโดยไม่ขัดต่อบรรทัดฐานทางสังคม
ปัจจัยที่มีอิธิพล
ปัจจัยครอบครัว
ปัจจัยภายในโรงเรียน
ปัจจัยทางสังคม
ทฤษฎีเกี่ยวกับจริยธรรม
โคลเบอร์ก
ระดับก่อนมีจริยธรรมอย่างเป็นระเบียบแบบแผน
ขั้นหลบหลีกการถูกลงโทษ
ขั้นใช้หลักการได้รางวัล
ระดับมีจริยธรรมอย่างเป็นระเบียบแบบแผน
ขั้นทำตามความเห็นชอบของบุคคลอื่น
ขั้นทำตามกฎเกณฑ์ของสังคม
ระดับมีจริยธรรมด้วยวิจารณญานของตนเอง
ทำตามเหตุผลของตนเอง
เพียเจท์
ความถูกผิดขึ้นอยู่กับกฎระเบียบความดีตัดสินจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
กฎระเบียบเป็นสิ่งที่จะละเมิดไม่ได้
การลงโทษผู้กระทำผิดต้องกระทำโดยทันทีทันใด
บุคคลที่กระทำผิดต้องได้รับบทเรียนจากการกระทำของตน
การลงโทษควรกระทำให้หนัก
ความรับผิดชอบที่มีต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็ก
เล่าเรื่องเกี่ยวกับหนังสือ
จัดหาและรวบรวมหนังสือที่เหมาะสมกับวัย
มีส่วนร่วมในการอ่านของเด็กทุกครั้งเท่าที่ทำได้
หาสัตว์เลี้ยงมาไว้ที่บ้าน หรือพาเด็กไปตามสถานที่ต่าง ๆ