Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การสร้างเสริมลักษณะนิสัยให้เด็กปฐมวัย - Coggle Diagram
บทที่ 7
การสร้างเสริมลักษณะนิสัยให้เด็กปฐมวัย
การสร้างเสริมนิสัยความซื่อสัตย์
ตัวอย่างสื่อที่ควรจัดหาและเลือกใช้เพื่อเตรียมความพร้อมทางสังคมของเด็กปฐมวัย
ดินน้ำมัน แป้ง หรือดินเหนียวที่ให้เด็กแบ่งกันใช้หรือปฏิบัติกิจกรรมที่ต้องอาศัยความร่วมมือกัน
นิทานที่มีเนื้อเรื่องปลูกฝังให้เด็กเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ให้เด็กได้เล่นบทบาทสมมุติ ให้รู้จักรอคอยอดทน ตามสิทธิของตนและโอกาส
สถานการณ์จำลองที่ฝึกให้เด็กรู้จักออกมาเป็นผู้นำและผู้ตามของกลุ่ม
เกมการศึกษา หรือเกมสนามกลางแจ้ง ที่มีการแข่งขันเป็นกลุ่มให้เด็กทุกคนได้ร่วมมือกันในกลุ่ม
รูปเหตุการณ์ที่ช่วยให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น
กิจกรรมประจำวัน
ความสำคัญในการเสริมสร้างลักษณะนิสัย
ความสำคัญต่อตัวเด็ก
อารมณ์
สังคม
ร่างกาย
สติปัญญา
ความสำคัญต่อสังคม
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านวัฒนธรรม
ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านศาสนา
การสร้างเสริมจริยธรรมต่อตนเอง
การสร้างเสริมนิสัยการมีระเบียบวินัยในตนเอง
ความหมายการมีระเบียบวินัยในตนเอง การมีระเบียบวินัยในตนเอง หมายถึง การที่บุคคลสามารถบังคับ ควบคุมตนเองทั้งกาย วาจา ใจ
2.สำคัญเพราะผู้มีวินัยในตนเองจะเป็นผู้ที่รู้จักกาลเทศะ สนใจและเอาใจใส่ต่อสังคม เป็นผู้ที่มีระเบียบและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม
ขอบข่ายของการเสริมสร้างลักษณะนิสัยการมีระเบียบวินัยในตนเอง
3.2 ให้เด็กเก็บข้าวของเครื่องใช้เข้าที่ให้เป็นระเบียบ
3.3 การให้เด็กได้ช่วยเหลืองานบ้านเล็ก ๆ น้อย ๆ ตามความสามารถของเด็ก
3.4 การให้เด็กเข้าแถวเพื่อรอทำกิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติไม่พร้อมกัน
3.5 การให้ยอมรับข้อตกลงและทำตามข้อตกลง
3.1 ให้เด็กกระทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามเวลา
รูปแบบการฝึกนิสัยการมีระเบียบวินัยในตนเอง
4.1 การฝึกวินัยแบบใช้ความรักเป็นหลัก การฝึกวินัยแบบนี้จะทำใน 2 ลักษณะ คือ แบบให้ความรักกับเด็ก และแบบถอดถอนความรัก คือ ถ้าเด็กทำสิ่งที่ไม่เหมาะสม
4.2 การฝึกวินัยแบบใช้อำนาจเป็นหลัก การฝึกวินัยแบบนี้จะเป็นวิธีการลงโทษเป็นหลัก
4.3 การฝึกวินัยแบบเข้มงวดกวดขัน การฝึกวินัยแบบนี้มักจะใช้วิธีการบังคับเด็กให้ทำตามกฎเกณฑ์ตามที่ผู้ใหญ่ต้องการ
4.4 การฝึกวินัยแบบให้เด็กทำสิ่งที่เด็กต้องการ เป็นการปล่อยให้เด็กแสดงพฤติกรรมไปตามความต้องการของตน
ข้อคิดในการสร้างเสริมนิสัยการมีระเบียบวินัยในตนเอง
5.1 การปลูกฝังให้มีวินัยในตนเอง
5.2 ใช้คำพูดที่โน้มน้าวใจให้เห็นคุณค่ามากกว่าการใช้อำนาจสั่งการ
5.3 ใช้การตำหนิที่พฤติกรรมที่เด็กทำผิด
5.4 การเดินสายกลาง
5.5 การจัดตารางเวลาทำกิจกรรมให้แน่นอน จะช่วยให้เด็กปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
5.6 การจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
การเสริมสร้างลักษณะนิสัยด้านจริยธรรม
ความสำคัญของการสร้างเสริมลักษณะนิสัยด้านจริยธรรม
บุคคลมีความสำนึก รู้สึกผิดชอบชั่วดี สามารถตัดสินได้ว่า กิริยาใดควรประพฤติปฏิบัติ
เป็นผู้มี ความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินัย มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว
ขอบข่ายในการเสริมสร้างลักษณะนิสัย
การเตรียมสร้างเสริมลักษณะนิสัยของเด็กปฐมวัยดังนี้
เพื่อฝึกประสาทสัมผัส
เพื่อปลูกฝังให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อส่งเสริมให้รสนิยมที่ดี รักสวยรักงาม ซาบซึ้งในความไพเราะของดนตรี
เพื่อปลูกฝังค่านิยม เจตคติและคุณลักษณะที่ดีของศิลปะ และวัฒนธรรม
เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักแสดงออกตามความถนัด และความสามารถของแต่ละบุคคล
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
เพื่อฝึกให้เป็นคนมีระเบียบ ประณีต และช่างสังเกต
เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เพื่อนำไปใช้บูรณาการกับกลุ่มวิชาต่าง ๆ
รูปแบบในการสร้างเสริมลักษณะนิสัย
การสร้างความตระหนัก
เทคนิคในการปรับพฤติกรรม
การเสริมแรงทางบวก
การใช้ตัวแบบ
การแต่งพฤติกรรม
การชี้แนะ
การลงโทษ
หลักการสำคัญในการเสริมสร้างลักษณะนิสัย
การเข้าใจเด็ก
การใช้ศิลปะวิธีในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
บทบาทของพ่อแม่และครูในการเสริมสร้างลักษณะนิสัย
บทบาทของพ่อแม่และครูในการสร้างเสริมลักษณะนิสัย
บทบาทในฐานะที่เป็นผู้ป้องกันทางเสื่อมและเป็นผู้ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาพฤติกรรมไปในทางที่ดี
บทบาทในฐานะเป็นผู้แก้ไขและปรับปรุงพฤติกรรมของเด็กที่มีแนวโน้มไปในทางเสื่อมแล้วให้กลับตัวได้และประพฤติดี ครูจะต้องมีหน้าที่ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กโดยตรง
บทบาทในฐานะที่เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็กได้เลียนแบบ
บทบาทในฐานะที่เป็นผู้ให้ข่าวสาร ความรู้และข้อเท็จจริงด้านจริยธรรมและวัฒนธรรมแก่เด็ก
บทบาทในฐานะที่เป็นผู้จัดสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ประสบการณ์และการฝึกปรับตัว
การสร้างเสริมลักษณะนิสัยความรับผิดชอบ
ความรับผิดชอบต่อตนเอง
1.1 ความรับผิดชอบต่อกิจวัตรประจำวัน
1) การตื่นนอนตามเวลาด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการปลุก
2) การอาบน้ำให้สะอาดตามเวลาด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการเตือน
3) การแต่งตัวให้เรียบร้อยหลังจากอาบน้ำ
4) การรับประทานอาหารด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการป้อนและ การร้องเรียก
5) การไปโรงเรียนให้ทันเวลาที่จะต้องเข้าแถว
1.2 การมีความรับผิดชอบต่อภารกิจที่ตนเองได้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบต่อสังคม
1.3 การมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว
1) ทำความสะอาดบ้าน เช่น ปัดฝุ่น เช็ดบ้าน กวาดบ้าน
2) จัดสิ่งของเครื่องใช้วางให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
3) ใช้สิ่งของต่าง ๆ ในบ้านอย่างทะนุถนอมและอย่างประหยัด
4) พบสิ่งของในบ้านชำรุดรีบบอกให้พ่อแม่ทราบทันที
1.4 ความรับผิดชอบต่อโรงเรียน
1.5 ความรับผิดชอบต่อสังคมที่อาศัย
การสร้างเสริมนิสัยความเมตตากรุณา
ขอบข่ายของการสร้างเสริมลักษณะนิสัยการมีความเมตตา กรุณา
การให้ความรักต่อผู้อื่น
การให้ความรักและความเอ็นดูต่อสัตว์เลี้ยง
การช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยาก เช่น ช่วยเหลือเพื่อนที่หกล้ม ช่วยเหลือ คนขอทาน
การช่วยเหลือผู้ที่อ่อนแอกว่า เช่น คนที่เด็กกว่าตนเอง คนชรา คนพิการ
การไม่รังแกเพื่อนและรังแกสัตว์ให้ได้รับความทุกข์ทรมาน
ความหมายของการสร้างเสริมลักษณะนิสัย
การฝึกหัดพฤติกรรมที่ต้องการจนทำให้เด็กเกิดความเคยชิน โดยแสดงออกอย่างเป็นธรรมชาติตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม
ขอบข่ายของการสร้างเสริมลักษณะนิสัยด้านจริยธรรม
จริยธรรมต่อตนเอง เช่น การมีความขยัน หมั่นเพียร
จริยธรรมต่อผู้อื่น เช่น การมีความซื่อสัตย์
จริยธรรมต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การรักษาสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดี
วิธีดำเนินการสร้างเสริมคุณสมบัติทางจริยธรรม
การสร้างเสริมจริยธรรม
การสอนจะต้องกระตุ้นให้เด็กได้คิด
การเสริมสร้างจริยธรรมควรที่เน้นให้เด็กได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การฝึกปฏิบัตินั้น ปัญหาต้องมาก่อน
แนวการสอนที่ใช้บุคคลเป็นตัวอย่าง
การสร้างเสริมจริยธรรมควรต้องทำทั้งในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียนไปพร้อม ๆ กัน
ในการเสริมสร้างจริยธรรมสำหรับเด็กควรยึดหลัก การป้องกันดีกว่าแก้
การเสริมสร้างจริยธรรมควรได้ผ่านประสาทสัมผัสหลาย ๆ ทาง
ในการเสริมสร้างจริยธรรมนั้นจะต้องมีการวัดผลอยู่เสมอ โดยการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน