Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมและครอบครัว - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมและครอบครัว
ความหมายของสังคม
สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกันโดยมีความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง มีขอบเขตที่ชัดเจน มีวิถีชีวิตเป็นลักษณะเฉพาะกลุ่ม และมีกิจกรรมภายในกลุ่ม สมาชิกทุกคนมีสถานภาพ บทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน
ลักษณะของสังคม
การอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
การมีอาณาเขตที่อยู่รวมกัน
การรู้จักเป็นพวกเดียวกัน
การติดต่อพบปะกัน
การมีความสัมพันธ์กัน
การแบ่งหน้าที่และความร่วมมือ
การมีระบบ ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และบรรทัดฐาน
การมีสถาบันที่ให้บริการตอบสนองความต้องการของสมาชิกในสังคม
วัฒนธรรม
ประเภทของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material Culture)
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (Non – Material Culture)
ความหมาย
วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์ของคนใน แต่ละสังคมที่กำหนดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติยึดถือให้สังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข และมีการสืบทอดเพื่อเป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มคนตลอดไป
ลักษณะของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ได้มาจากการเรียนรู้ เช่น การพูด การนั่ง การเดิน
วัฒนธรรมเป็นมรดกทางสังคม วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่คนรุ่นก่อนถ่ายทอดให้แก่
วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิตหรือแบบจำลองของการดำรงชีวิต
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่คงที่ มนุษย์มีการคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ หรือปรับปรุง
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สภาพแวดล้อมธรรมชาติ ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง
ประชากร การเพิ่มของจำนวนประชากร
เทคโนโลยี การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่หรือการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นเรื่องของกฎระเบียบของสังคม
ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม หรืออุดมการณ์ของคนในสังคม
ผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ผลเสีย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ย่อมทำให้เกิดปัญหาตามมาด้วย เช่น เมื่อมีการขยายโรงงาน อาจจะก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
ผลดี การประดิษฐ์คิดค้นทำให้เกิดความก้าวหน้าต่อสังคม เช่น การประดิษฐ์รถยนต์ เครื่องบิน ทำให้การคมนาคมสะดวก การประดิษฐ์วิทยุ โทรทัศน์ ทำให้เกิดความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร
อิทธิพลของสังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อเด็ก
ศาสนา ศาสนาในแต่ละสังคมมีบทบาทในการกำหนดหรือควบคุมพฤติกรรมทางสังคม
ภาษา การสื่อสารในชีวิตประจำวัน ต้องอาศัยภาษาในการสื่อ
สถาบัน กระบวนการทางสังคมที่ถ่ายทอดวัฒนธรรม ความรู้ ความชำนาญ
ค่านิยมทางวัฒนธรรม ประเพณี
สื่อมวลชน เป็นเครื่องช่วยเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจให้แก่เด็ก
การอบรมเด็กเกี่ยวกับกฎระเบียบของสังคม
ระเบียบวินัย การปลูกฝังระเบียบวินัย นับตั้งแต่การรับประทาน
การสร้างความมุ่งหวัง สังคมไม่ได้ถ่ายทอดคุณค่าของวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต
บทบาททางสังคม
ทักษะที่จะร่วมทำกิจกรรมกับผู้อื่น
ลักษณะการให้การอบรม
การอบรมสั่งสอนโดยตรง เป็นการชี้แนะแนวทางให้เด็กปฏิบัติอย่างจงใจ
อบรมสั่งสอนทางอ้อม เป็นการอบรมสั่งสอนที่พ่อแม่ไม่รู้ตัว
ครอบครัว
ความสำคัญของครอบครัว
ครอบครัวมีอิทธิพลต่อความเจริญของเด็กมาก หากครอบครัวมีพ่อแม่ที่ขาด ความรักความเอาใจใส่ หรือขาดเจตนาอันแน่วแน่ที่จะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่เด็ก
ทัศนคติของพ่อแม่
พ่อแม่ต้องเข้าใจพัฒนาการของเด็กเพื่อเป็นเครื่องช่วยให้ทราบว่า เมื่อใดเด็กถึงจะมีความพร้อมที่จะเรียนสิ่งใหม่ ๆ
พ่อแม่ต้องจัดหาสิ่งต่าง ๆ สนองความต้องการพื้นฐานแก่เด็ก ในการเลี้ยงดูเด็ก พ่อแม่ต้องเอาใจใส่ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อให้เด็กเกิดความปลอดภัยและอบอุ่น
พ่อแม่จะต้องศึกษาแบบแผนของความเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กเพื่อจะได้เข้าใจเด็กแต่ละคน ทั้งนี้เพราะอัตราการเจริญเติบโตของเด็กแต่ละคนอาจแตกต่างกันไป
พ่อแม่ต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้ร่วมสนุกในการใช้ความสามารถต่าง ๆ เช่น การใช้ภาษา ควรจะหัดเป็นขั้น ๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป
พ่อแม่ต้องยอมรับว่าความสัมพันธ์ภายในครอบครัว และการอบรมสั่งสอนมีความสำคัญต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก เด็กจะเติบโตมีคุณภาพเช่นใด จะประสบความสำเร็จในชีวิตเพียงใด ขึ้นอยู่กับปัจจัยดังกล่าว
ความหมาย
ครอบครัว หมายถึง การที่บุคคลอยู่ร่วมกันมากกว่า 2 คน ขึ้นไปอยู่ร่วมกันโดยมีระยะเวลายาวนานพอสมควร ภายใต้เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งที่กำหนดขึ้นที่สังคมนั้น ๆ ให้การยอมรับ เช่น การสมรส ญาติพี่น้อง สายโลหิต เป็นต้น
ประเภทของครอบครัว
ประเภทที่1
ครอบครัวแรกเริ่ม (Family of Orientation)
ครอบครัวสร้างสมาชิกใหม่ (Family of Procreation
ประเภทที่ 2
ครอบครัวเดี่ยวหรือครอบครัวเล็ก
ครอบครัวขยาย
พหุครอบครัว
ครอบครัวเดี่ยว
ครอบครัว
ครอบครัวรับบุตร
หน้าที่ของครอบครัว
เลี้ยงดูบุตร
เสริมสร้างสมาชิกให้กับสังคม
อบรมสั่งสอนบุตรให้รู้จักระเบียบสังคม
กำหนดสถานภาพของบุตรในสังคม
การวางแผนครอบครัว
ความหมาย
การวางแผนครอบครัว หมายถึง การวางแผนการใช้ชีวิตคู่ของชายหญิงที่แต่งงานกัน การมีบุตร เป็นครอบครัวที่สมบูรณ์ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สาเหตุของการวางแผนครอบครัว
ปัญหาครอบครัว
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ บิดามารดาจะต้องจ่ายเงินในการอบรมเลี้ยงดูบุตร
ปัญหาด้านสังคม ปัญหาสังคมมากมาย ในปัจจุบัน เช่น การว่างงาน
ปัญหาด้านการศึกษา การเพิ่มของประชากรอย่างรวดเร็วทำให้ขยายการศึกษาไม่ทัน มี
ปัญหาด้านสาธารณสุข การแพทย์และอนามัย
ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหาน้ำเสีย ปัญหามลพิษ ปัญหาการทำลายป่าไม้
วัตถุประสงค์ของการวางแผนครอบครัว
เพื่อลดอัตราการเกิดประชากรให้น้อยลง
เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดี
เพื่อให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเป็นไปด้วยดี
เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนสิ่งต่างๆ
วิธีการวางแผน
การเร่งกำเนิด
การเลือกกำเนิด
การชะลอกำเนิด
อุปสรรคในการวางแผนครอบครัว
ขาดข้อมูล
การวางแผนครอบครัวเพื่อชะลออการเกิด
การบริการวางแผนครอบครัวมีไม่เพียงพอ
วิธีคุมกำเนิดยังไม่เป็นที่พอใจหรือนิยมใช้ของประชากร
เจตคติของบุคคลที่มีต่อการคุมกำเนิด
ความไม่รู้ในการวางแผนครอบครัวของบุคคลระดับต่าง
สถานที่บริการเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย
สำนักงานสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลต่าง ๆ ทั่วประเทศ