Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - Coggle Diagram
บทที่ 5
การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ลักษณะของเด็กปฐมวัย
ลักษณะทางกาย
ไม่ชอบอยู่นิ่ง
เด็กชอบเคลื่อนไหว ไม่ชอบอยู่นิ่ง
ลักษณะทางอารมณ์
อารมณ์อิจฉาริษยา
อารมณ์กลัว
อารมณ์รัก
อารมณ์โกรธ
อารมณ์ดื้อ
ลักษณะทางสังคม
เล่นสนุกสนานกับเพื่อน
ทำตามกฎเกณฑ์ของสังคม
การทะเลาะวิวาท
หลักการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ให้ความรักความอบอุ่น
ทำตนให้เป็นแบบอย่าง
ให้รางวัล
การตั้งกฎเกณฑ์ให้เด็กปฏิบัติตาม
หยุดยั้งพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ความต้องการของเด็กปฐมวัย
ความต้องการทางด้านร่างกาย
ที่อยู่
อาหาร
ยา
เสื้อผ้า
ความต้องการทางด้านจิตใจ
ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ความต้องการความรักและต้องการเข้ากลุ่มพวก
ความต้องการมีคุณค่า
ความต้องการเข้าใจในตน
ต้องการความรู้ความเข้าใจ
บทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครองกับการฝึกอบรมเด็ก
การเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
การกินอยู่
ส่งเสริมให้ออกกำลังกาย
จัดหาของเล่นให้เด็กและเล่นกับเด็ก
ให้ความสนใจเด็ก
การให้เงินเด็ก
การให้รางวัล
การทำโทษ
การสอนเด็กปฐมวัย
สอนให้รู้จักระวังความปลอดภัย
สอนให้ช่วยตัวเอง แก้ปัญหาด้วยตนเอง
ให้รู้จักเลือกเลียนแบบที่ดี
สร้างความเชื่อมั่นและฝึกให้เด็กตัดสินใจ
ส่งเสริมสังคมนิยมนิสัยที่เด็กพึงปฏิบัติ
สอนให้มีความรับผิดชอบและทำตัวให้มีประโยชน์
ฝึกให้มีระเบียบวินัย
ตามเด็กให้ทัน
การส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาสำหรับเด็กปฐมวัย 6 ประการคือ
เพื่อให้เด็กมีทัศนคติที่ดี
เพื่อให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
เพื่อให้เด็กแสดงออกด้านการตัดสินใจแก้ปัญหา
เพื่อให้สามารถเข้าใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และชื่นชมในสิ่งเหล่านั้น
เพื่อให้มีอิสระในการคิดแก้ปัญหา
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะต่าง ๆ
รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย
ไม่ชี้แนวทางที่ถูกต้องให้เด็ก
ปล่อยให้เด็กมีอิสระในการกระทำสิ่งต่าง ๆ มากเกินไป
เด็กปรับตัวเข้ากับคนอื่นได้ยากไม่ค่อยยอมปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และรู้สึกลำบากใจเมื่อปฏิบัติตามกฎข้อบังคับ
การอบรมเลี้ยงดูแบบอัตตาธิปไตย
พ่อแม่เป็นใหญ่ เข้มงวดกวดขัน
เด็กมักเป็นผู้มีระเบียบวินัย สุภาพเรียบร้อย ทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยความระมัดระวัง ไวต่อความรู้สึก
ไม่มีความมั่นใจในตนเอง มีความรู้สึกอึดอัดใจ มีความมั่นคงทางอารมณ์น้อยขี้อายขาดความกล้า ที่จะเผชิญกับอุปสรรคหรืองานที่ยากลำบาก
การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย
ให้เด็กได้มีโอกาสแสดงความคิดอ่าน
พ่อแม่ยอมรับในความสำคัญของเด็ก
ปกครองเด็กด้วยเหตุผล
เด็กมีความรับผิดชอบและพึ่งตนเองได้
มีความมั่นใจในตนเอง มีความต้องการความสำเร็จ
มีการปรับตัวที่ดีกล้าแสดงความคิดเห็น
การอบรมเลี้ยงดูแบบปกป้อง
ปกป้องช่วยเหลือเด็กจนเกิน
เด็กไม่มีโอกาสเรียนรู้การพึ่งตนเอง
เด็กมักพึ่งพาผู้อื่น ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ดี ไม่เป็นตัวของตัวเอง ขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไม่สามารถเข้ากับเพื่อนฝูงได้ เอาแต่ใจตนเอง และขลาดกลัวต่อสภาพแวดล้อมได้ง่าย
การอบรมเลี้ยงดูแบบไม่ยอมรับ
เลี้ยงดูแบบไม่ยอมรับเกิดขึ้นเนื่องจากพ่อแม่ไม่ต้องการลูก
ปล่อยเด็กให้ผู้อื่นเลี้ยงหรือให้อยู่กับคนเลี้ยง
เด็กจะมีลักษณะเก็บกด หนีสังคม เงียบขรึม ขี้อาย ก้าวร้าว อิจฉาผู้อื่น ต่อต้านพ่อแม่ และกระตือรือร้นสูง
การสนองความต้องการทางด้านจิตใจ
ความมั่นคงปลอดภัย
ความรัก
เจตคติของพ่อแม่กับพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การส่งเสริมความสามารถของเด็ก
ให้แรงเสริมแก่พฤติกรรมที่พึงประสงค์
นิยมความเป็นประชาธิปไตย
การให้ความรักความอบอุ่นแก่เด็ก
ใฝ่ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก
ลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์
ลักษณะนิสัยที่ควรฝึกอบรม
การควบคุมอารมณ์
ความสำนึกในอันตรายต่าง ๆ
การใฝ่หาความรู้
การมีมารยาทงาม
การพึ่งตนเอง
ความมีระเบียบ
การมองโลกในแง่ดี
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ความมานะอดทน
ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
ข้อควรคำนึงถึงในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
การวางแนวการจัดประสบการณ์
ความสำเร็จในการสร้างเสริมลักษณะนิสัยเด็กปฐมวัยขึ้นอยู่กับผู้ปกครองเป็นปัจจัยสำคัญ
การเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีต้องปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
ลักษณะนิสัยที่ดีต่าง ๆ